Left Thalamic Hemorrhage (ภาวะเลือดออกในสมองส่วน Thalamus ซ้าย)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Left Thalamic Hemorrhage (ภาวะเลือดออกในสมองส่วน Thalamus ซ้าย) by Mind Map: Left Thalamic Hemorrhage (ภาวะเลือดออกในสมองส่วน Thalamus ซ้าย)

1. อาการและอาการแสดง

1.1. ผู้ป่วย

1.1.1. ไม่พูด แขนขาข้างขวาอ่อนแรง 4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล

1.1.2. มีอาเจียน 4 - 5 ครั้ง

1.1.3. Neuro signs: E3V3M5, Pupil 2 mm Rt. = Lt., RTL both eye, Motor power = แขนขาข้างซ้าย gr.5, แขนข้างขวา gr. 2 และ ขาข้างขวา gr.1

1.2. ตามตำรา

1.2.1. ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะ

1.2.2. อาเจียน

1.2.3. พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว ฝึกคำพูกลำบาก

1.2.4. แขนขาอ่อนแรง

1.2.5. มองเห็นภาพไม่ชัด ภาพซ้อน

1.2.6. เดินเซ

1.2.7. ชัก

1.2.8. หลับตาไม่สนิท

2. การวินิจฉัย

2.1. ผู้ป่วย

2.1.1. แพทย์วินิจฉัยจากการทำ CT scan brain non - contrast

2.1.1.1. ผลจากการทำ CT scan (19/04/62) พบ: Acute intraparenchymal hemorrhage at left thalamus (size 3.0 * 2.8 * 3.0 cm) with blood spillage to ventricular system and surrounding brain enema, Mild hydrocephalus และ No mid line shift or brain herniation

2.1.1.1.1. แพทย์จึง Diagnosis เป็น Left thalamic hemorrhage with Intraventricular hemorrhage (IVH)

2.1.2. Neuro signs: Glasgow Coma Score = E3V3M5, Glasgow Coma Scale = 11 คะแนน

2.1.3. Size = 3.0 * 2.8 * 3.0 cm

2.1.4. No mid line shift or brain herniation

2.1.5. Volume of hematoma: 0.525 * 3.0 * 2.8 * 3.0 = 13.2048 ml

2.2. ตามตำรา

2.2.1. การซักประวัติ, การตรวจร่างกาย, ประเมิน Neuro signs และ Vital signs

2.2.2. การทำ CT scan

2.2.3. การทำ MRI

2.2.4. Mid line shift > 0.5 cm; ก้อนเลือดที่ออกมีการกดเบียดเนื้อสมอง จนแนวกลางของเนื้อสมองเคลื่อนที่ไปจากเดิม 5 ml เรียกว่า mid line shift

2.2.5. Volume of hematoma > 10 ml (ปริมาตรก้อนเลือด = 0.524 * X * Y * Z) ; X,Y,Z = ความยาวของเส้นผ่านศูนญ์กลางของก้อนเลือดในสมองในแนวแกน X Y Z หน่วย cm

3. การรักษา

3.1. ผู้ป่วย

3.1.1. การรักษาแบบประคับประคอง

3.1.1.1. ยา

3.1.1.1.1. Dilantin 50 mg 2 tab. oral t.i.d. pc / Dilatin 100 mg vein q 8 hr

3.1.1.1.2. Manidipine 20 mg 1 tab. oral OD pc เช้า

3.1.1.1.3. Gemtibrozil 300 mg 1 tab. oral OD ac เช้า

3.1.1.1.4. Losartan 100 mg 1/2 tab. oral OD pc เช้า

3.1.1.1.5. Nicardipine (1:5) vein 15 ml/hr titrate

3.1.1.2. สารน้ำ

3.1.1.2.1. 0.9% NSS 1,000 ml vein rate 40 ml/hr

3.2. ตามตำรา

3.2.1. การรักษาแบบประคับประคอง

3.2.1.1. ให้สารน้ำ เกลือแร่ และยา

3.2.2. การผ่าตัด

3.2.2.1. Craniotomy with remove hematoma

3.2.2.2. Decumpressive craniectomy

3.2.2.3. Ventriculostomy

4. สาเหตุ

4.1. ผู้ป่วย

4.1.1. ผู้ป่วยชายไทยวัยสูงอายุ อายุ 69 ปี หลอดเลือดมีความเสื่อมสภาพหรือความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือดลดลง

4.1.2. มีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) และไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia) รับประทานยาไม่ต่อเนื่อง

4.1.3. เคยมีประวัติได้รับยา ASA 81 mg ที่ รพ.เดิมบางนางบวช

4.1.4. ไม่มีประวัติดื่มสุราหรือสูบบุหรี่ทุกชนิด

4.2. ตามตำรา

4.2.1. ผู้สูงอายุ

4.2.2. การรับประทานยาละลายลิ่มเลือด: ในโรคหลอดเลือดหัวใจ

4.2.3. โรคความดันโลหิตสูงที่รักษาควบคุมไม่ได้หรือควบคุมได้ไม่ดี

4.2.4. ความผิดปกติของหลอดเลือดสมองที่พบในผู้สูงอายุ

4.2.5. หลอดเลือดสมองผิดปกติ: โรคหลอดเลือดสมอง AVM, โรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง

4.2.6. การติดเชื้อพยาธิในสมอง: มักพบในผู้ที่ชอบรับประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ

4.2.7. เนื้องอกในสมอง

4.2.8. โรคที่มีความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด / ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ

4.2.9. การติดเชื้อในสมอง / สมองอักเสบ

4.2.10. ผู้ป่วยมะเร็ง

4.2.11. ผู้ที่ดื่มสุรา

5. ชนิด

5.1. ผู้ป่วย

5.1.1. เป็นชนิด Lobar hemorrhage เนื่องจากมีพยาธิสภาพที่ Left thalamus

5.2. ตามตำรา

5.2.1. Non - lobar hemorrhage

5.2.1.1. Intracerebral hemorrhage ที่ Basal ganglia (Putamen), Thalamus, Cerebellum และ Brain stem (Pons)

5.2.2. Lobar hemorrhage

5.2.2.1. Intracerebral hemorrhage (ICH) ที่ Cortical / Subcortical (Frontal, Temporal, Parietal, Occipital lobes)

6. การพยาบาล

6.1. มีโอกาส / เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ IICP เนื่องจากมีเลือดออกในสมอง

6.2. มีโอกาส / เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากการกำซาบออกซิเจนของเนื้อสมองลดลง จากการมีเลือดออกในสมอง

6.3. พร่องกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากมีกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง

6.4. มีภาวะซึมเศร้า เนื่องจากภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

6.5. ญาติวิตกกังวลเกี่ยวกับสภาพความเจ็บป่วย การดำเนินโรค และแผนการรักษา