การวิจัย (ปลายภาค)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การวิจัย (ปลายภาค) by Mind Map: การวิจัย (ปลายภาค)

1. เพื่อความประหยัดในการวางแผนการใช้งบประมาณ

2. ทฤษฎีการวิจัย

2.1. การวิจัย คือ การค้นคว้าหาข้อมูลความรู้ด้วยวิธีการที่เป็นระบบเพื่อหาความรู้ใหม่หรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงเก่า และเพื่อวิเคราะห์ผลก่อนหลังของความสัมพันธ์ระหว่างกันตามแต่เรื่องที่ตนเองจะสนใจศึกษา

2.1.1. ข้อสำคัญ

2.1.1.1. ประเภทของงานวิจัย

2.1.1.1.1. 1.การวิจัยประวัติศาสตร์

2.1.1.1.2. 2.การวิจัยเชิงสำรวจ

2.1.1.1.3. 3.การวิจัยเชิงทดลอง

2.1.1.1.4. 4.การวิจัยเชิงความสัมพันธ์

2.1.1.1.5. 5.วิจัยเชิงพัฒนา

2.1.1.1.6. 6.วิจัยเชิงคุณภาพ

2.1.1.1.7. 7.วิจัยเชิงนโยบาย

2.1.1.2. ขั้นตอนในการทำวิจัย

2.1.1.2.1. 1.การกำหนดปัญหาในการทำวิจัยทางการศึกษา

2.1.1.2.2. 2.การตั้งชื่อเรื่องการวิจัยทางการศึกษา

2.1.1.2.3. 3.การกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย

2.1.1.2.4. 4.กำหนดขอบเจตการวิจัย

2.1.1.2.5. 5.ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1.1.2.6. 6.วางแผนดำเนินงานวิจัย

2.1.1.2.7. 7.ตั้งและทดสอบสมมติฐาน

2.1.1.2.8. 8.รวบรวมข้อมูลที่ได้และสรุปผล

3. การศึกษาวรรณกรรม

3.1. เป็นขั้นตอนหนึ่งในการวิจัยที่เอื้อต่อขั้นตอนอื่นตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งเสร็จสิ้น ซึ่งผู้วิจัยจะต้องศึกษาค้นคว้าความรู้และข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องด้วยการอ่าน สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลต่างๆจากเอกสาร เช่น วารสารทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ เป็นต้น

3.1.1. ข้อสำคัญ

3.1.1.1. จุดมุ่งหมาย

3.1.1.1.1. เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำกับผู้อื่น

3.1.1.1.2. เพื่อทราบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

3.1.1.1.3. เพื่อทราบวิธีการได้มาซึ่งข้อมูล

3.1.1.1.4. เพื่อทราบถึงอุปสรรค

3.1.1.1.5. เพื่อทำให้งานวิจัยน่าเชื่อถือ

3.1.1.2. แหล่งข้อมูล

3.1.1.2.1. 1.เอกสาร

3.1.1.2.2. 2.เทคโนโลยี

3.1.1.2.3. 3.บุคคล

4. การวิจัยในชั้นเรียน

4.1. เป็นการวิจัยที่มีความหมาย หลักการ ขอบเขต และขั้นตอนที่น้อยหรือยืดหยุ่นกว่าการวิจัยแบบธรรมดา มีลักษณะเป็นทางการน้อยกว่า ดำเนินการวิจัยโดยครูผู้สอนภายในห้องเรียนหรือภายใต้ความรับผิดชอบของตน เน้นการนำผลไปใช้ได้จริงเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนานักเรียน

4.1.1. ข้อสำคัญ

4.1.1.1. จุดมุ่งหมาย

4.1.1.1.1. 1.เพื่อบรรยาย ( Description )

4.1.1.1.2. 2.อธิบาย ( Explanation )

4.1.1.1.3. 3.ทำนาย ( Prediction )

4.1.1.1.4. 4.ควบคุม ( Control )

4.1.1.2. ประเภทของงานวิจัยทางการศึกษา

4.1.1.2.1. วิจัยในชั้นเรียน

4.1.1.2.2. วิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้

4.1.1.3. ขั้นตอนการวิจัยในชั้นเรียน

4.1.1.3.1. 1.การสำรวจและกำหนดปัญหาเพื่อเตรียมการวิจัย

4.1.1.3.2. 2.การค้นคว้าและทบทวนเอกสาร

4.1.1.3.3. 3.การสร้างและพัฒนานวัตกรรม

4.1.1.3.4. 4.การกำหนดสมมติฐานและตัวแปร

4.1.1.3.5. 5.การเลือกแบบวิจัยและกลุ่มตัวอย่าง

4.1.1.3.6. 6.การสร้างและพัฒนาเครื่องมือเก็บข้อมูล

4.1.1.3.7. 7.การวิเคราะห์ข้อมูล

4.1.1.3.8. 8.การเขียนเค้าโครงและรายงานการวิจัย

5. การออกแบบวิจัย

5.1. เป็นกระบวนการที่ใช้ในการวางแผนการดำเนินการวิจัย ที่มีระบบและมีขั้นตอนเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล/สารสนเทศที่ต้องการนำมาใช้ในการตอบปัญหาการวิจัยตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน รวดเร็วและ มีความน่าเชื่อถือเปรียบเสมือนพิมพ์เขียวของผู้วิจัยในการกำหนดโครงสร้างงานวิจัย

5.1.1. ข้อสำคัญ

5.1.1.1. จุดมุ่งหมาย

5.1.1.1.1. เพื่อให้ได้คำตอบของปัญหาการวิจัยที่ถูกต้อง

5.1.1.1.2. เพื่อให้การดำเนินการวิจัยเป็นระบบ

5.1.1.2. ขั้นตอนการออกแบบ

5.1.1.2.1. 1.กำหนดขอบเขต

5.1.1.2.2. 2.กำหนดระเบียบวิธีการวิจัย

5.1.1.2.3. 3.กำหนดแผนกิจกรรม

5.1.1.2.4. 4.กำหนดทรัพยากรที่ใช้

5.1.1.2.5. 5.การจัดทำโครงการวิจัย

5.1.1.3. องค์ประกอบ

5.1.1.3.1. การออกแบบตัวแปร

5.1.1.3.2. การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง

5.1.1.3.3. การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล

6. การเขียนรายงานวิจัย

6.1. กระบวนการที่จะได้ข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งแบ่งออกได้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลและการรวบรวมข้อมูล

6.1.1. ลักษณะสำคัญ

6.1.1.1. จะต้องสนองตอบต่อวัตถุประสงค์ของการวิจัยอย่างครบถ้วน

6.1.1.2. จะต้องสนองตอบต่อการวิจัยตามกรอบแนวคิดการวิจัยและใช้ในการทดสอบสมมุติฐานได้อย่างครบถ้วน

6.1.1.3. จะต้องมีการดำเนินการด้วยความระมัดระวัง รอบคอบในการเลือกใช้เครื่องมือในการวิจัย

6.1.2. ขั้นตอนการเก็บข้อมูล

6.1.2.1. 1. กำหนดข้อมูลและตัวชี้วัด

6.1.2.2. 2. กำหนดแหล่งข้อมูล

6.1.2.3. 3. กำหนดกลุ่มตัวอย่าง

6.1.2.4. 4.เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจะต้องเลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม

6.1.2.5. 5. นำเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้

6.1.3. วิธีการเก็บข้อมูล

6.1.3.1. 1.การสัมภาษณ์โดยตรง

6.1.3.2. 2.การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์

6.1.3.3. 3.การตอบแบบสอบถาม

6.1.3.4. 4.การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์

6.1.3.5. 5) การสังเกต

7. การวิเคราะห์ข้อมูล

7.1. การจัดระเบียบแยกแยะส่วนต่าง ๆ ของหลักฐาน หรือข้อมูลที่ได้ออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อหาคำตอบตามความมุ่งหมาย และตามสมมติฐานที่ได้กำหนดไว้การวิเคราะห์ข้อมูลนี้เป็นขั้นการทำงานที่ต่อเนื่องมาจากการวัด การนับ และจัดเรียงลำดับข้อมูลส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการนำเอาวิธีการทางสถิติมาวิเคราะห์หาค่าตัวแปรหรือหาลักษณะของตัวแปร

7.1.1. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล

7.1.1.1. จัดหรือแยกประเภทข้อมูลที่จะศึกษาออกเป็นหมวดหมู่เพื่อความสะดวก

7.1.1.2. ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยเลือกใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับลักษณะของข้อมูล

7.1.1.3. เสนอผลการวิเคราะห์ที่ได้โดยพยายามเสนอให้มีความแจ่มชัดและเข้าใจง่าย ซึ่งนิยม เสนอในรูปตารางหรือแผนภูมิ

7.1.1.4. หาข้อสรุปเกี่ยวกับคุณลักษณะของประชากรใช้วิธีการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวแทนของประชากรนั้น ๆ

7.1.2. โปรแกรมที่นิยมใช้

7.1.2.1. SPSS

7.1.2.2. SP

7.1.2.3. ISP

7.1.2.4. Excel

7.1.2.5. PSPP

8. ประชากรและตัวอย่าง

8.1. ประชากร

8.1.1. สมาชิกทุกหน่วยที่อยู่ในกรอบที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาหรือกลุ่มของคน

8.2. กลุ่มตัวอย่าง

8.2.1. สมาชิกบางส่วนของประชากรเป้าหมายที่ได้รับเลือกหรือสุ่มมาเพื่อเป็นตัวแทนของประชากรในการศึกษา

8.2.1.1. หลักการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

8.2.1.1.1. กลุ่มตัวอย่างที่ถูกเลือกมาจะต้องมีลักษณะและคุณสมบัติเหมือนหรือใกล้เคียงกับประชากร

8.2.1.1.2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจะต้องมีมากพอที่จะทดสอบความเชื่อมั่นในทางสถิติและสามารถอ้างอิงได้

8.2.1.2. ขั้นตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

8.2.1.2.1. 1.วิเคราะห์จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้ชัดเจน

8.2.1.2.2. 2.นิยามประชากรที่จะศึกษา

8.2.1.2.3. 3.กำหนดหน่วยการสุ่ม

8.2.1.2.4. 4.กำหนดกรอบการสุ่ม

8.2.1.2.5. 5.กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง

8.2.1.2.6. 6.การวางแผนเลือกกลุ่มตัวอย่าง

8.2.1.2.7. 7.การเลือกกลุ่มตัวอย่าง

8.2.1.3. ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง

8.2.1.3.1. 1.การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น

8.2.1.3.2. 2.การสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็น

9. ตัวแปรและการสร้างเครื่องมือ

9.1. ตัวแปร

9.1.1. ลักษณะหรือสิ่งที่มีอยู่ในคน สัตว์หรือสิ่งของรวมทั้งปรากฏการณ์ต่างๆที่มีค่าแตกต่างกันไประหว่างตัวบุคคล สัตว์ วัตถุสิ่งของหรือปรากฎการณ์”

9.1.1.1. ประเภทของตัวแปร

9.1.1.1.1. จำแนกตามหน้าที่

9.1.1.1.2. จำแนกตามมาตรวัด

9.2. เครื่องมือ

9.2.1. เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวัดค่าตัวแปนและสำรวจข้อเท็จจริงของปรากฏการณ์ได้แก่ แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบตรวจสอบรายการ เป็นต้น

9.2.1.1. ข้อสำคัญ

9.2.1.1.1. ประเภทของเครื่องมือ

9.2.1.1.2. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ

10. สถิติเชิงอ้างอิง

10.1. เป็นการนำผลข้อมูลที่เก็บมาได้จากกลุ่มตัวอย่าง ไปใช้อ้างอิง และอธิบายถึงกลุ่มประชากร/ตัวอย่าง ทั้งหมด การบรรยายหรือ สรุปผลจะใช้หลักความน่าจะเป็น มาทดสอบสมมติฐาน

10.1.1. ประเภทของสถิติอ้างอิง

10.1.1.1. สถิติอ้างอิงแบบมีพารามิเตอร์

10.1.1.1.1. ใช้กับข้อมูลที่มีระดับการวัดตัวแปร เป็นระดับมาตรา อันตรภาค หรือระดับมาตรา อัตราส่วน

10.1.1.2. สถิติอ้างอิงแบบไม่มีพารามิเตอร์

10.1.1.2.1. ใช้กับข้อมูลหรือตัวแปรทีไม่สามารถใช้กับสถิติอ้างอิงแบบมีพารามิเตอร์ได้

10.1.2. การเลือกใช้สถิติอ้างอิง

10.1.2.1. การวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อบรรยายข้อมูลหรือสรุปอ้างอิงจากกลุ่มตัวอย่างไปยังค่าประชากร

10.1.2.2. จำนวนกลุ่มประชากร/ตัวอย่าง

10.1.2.3. ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาอยู่ในระดับใด หรือมาตราใด

10.1.2.4. ตัวแปรที่ใช้มีกี่ตัว

10.1.3. สูตรสถิติอ้างอิง

10.1.3.1. การแจกแจงแบบ ไค – สแควร์

10.1.3.2. การทดสอบ(t-test )

11. สถิติเชิงบรรยาย

11.1. เป็นสถิติที่ใช้ในการบรรยายลักษณะข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างหรือประชากรที่ทำการศึกษาหรือบรรยายลักษณะโดยรวมของตัวแปร สถิติบรรยายได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ อัตราส่วน การวัดแนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลาง การวัดค่าการกระจาย การวัดการแจกแจง และการวัดความสัมพันธ์เป็นต้น

11.1.1. วัดค่าเข้าสู่ศูนย์กลาง

11.1.1.1. 1.ค่าเฉลี่ยเลขคณิต

11.1.1.1.1. x ̄ = (∑(fx_i))/N

11.1.1.2. 2.มัธยฐาน

11.1.1.2.1. ตำแหน่งมัธยฐาน = (N+1)/2

11.1.1.3. 3.ฐานนิยม

11.1.1.3.1. ฐานนิยม = ค่าความถี่สูงสุด

11.1.2. วัดการกระจาย

11.1.2.1. 1.พิสัย

11.1.2.1.1. พิสัย = ค่าสูงสุด – ค่าต่ำสุด

11.1.2.2. 2.ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

11.1.2.2.1. MD. = (∑▒〖[ x_i-x ̅]〗)/n

11.1.2.3. 3.ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

11.1.2.3.1. SD= √((∑ 〖( x_i-x ̅ )〗^2)/(n-1))

12. การเขียนรายงานการวิจัย

12.1. เอกสารที่เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ที่เรียบเรียงเป็นเรื่องราวขึ้นใหม่หลังจากได้ทำการศึกษาหลักการและทฤษฎี ค้นคว้าหาข้อมูลอย่างละเอียดแล้วจึงเขียนเรียบเรียงขึ้นมาอย่างเป็นระบบมีระเบียบแบบแผนตามหลักสากล มีเนื้อหาสาระโดยละเอียด สมบูรณ์ ครบถ้วนเพื่อเผยแพร่แก้ผู้ที่สนใจและผู้ใช้ประโยชน์จากผลการวิจัย

12.1.1. บทที่ 1

12.1.1.1. ที่มาและความสำคัญของปัญหา

12.1.1.2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย

12.1.1.3. สมมติฐานการวิจัย

12.1.1.4. ความสำคัญของการวิจัย , ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

12.1.1.5. ขอบเขตของการวิจัย

12.1.1.6. นิยามศัพท์เฉพาะ

12.1.2. บทที่ 2

12.1.2.1. เอกสาร , งานเขียน , บทความเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา

12.1.2.2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

12.1.2.3. กรอบแนวคิดการทำวิจัย

12.1.3. บทที่ 3

12.1.3.1. ประเภทของงานวิจัย

12.1.3.2. การเก็บรวบรวมข้อมูล

12.1.3.3. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่เลือกใช้

12.1.3.4. การวิเคราะห์ข้อมูล

12.1.3.5. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

12.1.3.6. ลำดับขั้นตอน กระบวนการในการทำวิจัย

12.1.4. บทที่ 4

12.1.4.1. เป็นการเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้และมีการวิเคราะห์ต้องระวังไม่เอาผลการวิจัยไปปะปนกับผลของการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องต้องเสนอผลอย่างกระจ่างรัดกุมและตามข้อเท็จจริง และในลักษณะที่ได้จัดเรียงลำดับไว้อย่างดีแล้ว

12.1.4.1.1. ขั้นตอน

12.1.4.1.2. องค์ประกอบ

12.1.5. บทที่ 5

12.1.5.1. เป็นการสรุปประเด็นสำคัญในการวิจัยทั้งหมด รวมทั้งข้อจำกัดของการวิจัยและข้อเสนอแนะสำหรับงานวิจัยที่เกี่ยวข้องต่อไปเพื่อประโยชน์ในทางประยุกต์หรือต่อยอดของผลการวิจัยที่ได้

12.1.5.1.1. องค์ประกอบ

12.1.6. ภาคผนวก

12.1.6.1. ส่วนประกอบที่เขียนเพิ่มเติมในตอนท้ายเพื่อช่วยให้เห็นความสมบูรณ์ในข้อมูล เนื้อหา กระบวนการดำเนินงานและผลของการวิจัย

12.1.6.1.1. ประกอบด้วย

13. การประเมินคุณภาพวิจัย

13.1. กระบวนการในการพิจารณาตัดสินว่างานวิจัยนั้น ๆ มีความถูกต้องสมบูรณ์และมีคุณภาพสมบูรณ์หรือไม่เพื่อที่จะนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง เพื่อที่จะนำผลที่ได้ไปพัฒนางานหรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน สังคม ประเทศชาติ

13.1.1. มิติในการประเมิน

13.1.1.1. ด้านคุณค่า

13.1.1.2. ด้านคุณภาพ

14. การนำเสนอผลงานวิจัย

14.1. เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างหนึ่งที่นักวิจัยทุกคนควรต้องทำ เมื่อเสร็จสิ้นการวิจัย และจัดทำรายงานวิจัยเสร็จเรียบร้อยแล้ว นักวิจัยจะต้องนำเสนอผลงานการวิจัยของตนเพื่อเป็นการนำเสนอสิ่งใหม่ที่ค้นพบ เพื่อพิสูจน์ทฤษฎีหรือแนวคิด และเพื่อเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ

14.1.1. ขั้นตอน

14.1.1.1. วางแผน

14.1.1.2. ออกแบบสื่อ

14.1.1.3. ศึกษากลุ่มประชากร

14.1.1.4. เตรียมและเรียงเรียงคำพูด

14.1.1.5. นำเสนอผลงาน

14.1.2. การนำเสนอ

14.1.2.1. ควบคุมสติ ท่าทาง การแต่งตัว เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง รวมทั้งควบคุม เวลาให้สามารถพูดในสาระสำคัญได้อย่างครบถ้วน