Get Started. It's Free
or sign up with your email address
chest pain by Mind Map: chest pain

1. Myocaditis

1.1. cc : เจ็บหน้าอก มีไข้

1.2. PI : มีประวัติติดเชื้อทางเดินหายใจ มีไข้หนาวสั่น มีอาการเจ็บหน้าอก เขียวปลายมือปลายเท้า หายใจเหนื่อยริมฝีปากม่วง

1.3. PE

1.3.1. คลำ : พบหัวใจโต และพบ Cappillary refill time > 2 วินาที

1.3.2. ดู : บริเวณปลายมือปลายเท้าเขียว ริมฝีปากม่วงมีลักษณะการหายใจเร็ว บริเวณเท้าและข้อบวม

1.3.3. ฟัง : พบเสียง murmur อาจพบ Friction rub

1.3.4. lap

1.3.4.1. WBC

1.3.4.2. ESR

1.3.4.3. CRP

1.3.4.4. troponin

1.3.5. การตรวจพิเศษ

1.3.5.1. EKG พบ sinus tachycardia

1.3.5.2. MRI , CXR พบ cadiomegaly

1.4. การซักประวัติ

1.4.1. การสัมผัสสารต่างๆ

1.4.1.1. ตะกั่ว

1.4.1.2. สารหนู

1.4.1.3. คาร์บอนมอนอกไซด์

1.4.2. การได้รับยาปฎิชีวนะ /ยาขับปัสสาวะ / ยาเสพติด

1.4.2.1. penicillin

1.4.2.2. azithromycin

1.4.2.3. sulfonamide

1.4.2.4. furoseminde

1.4.2.5. hydrochlorothiazide

1.4.2.6. โคเคน

1.4.3. โรคประจำตัว

1.4.3.1. Lupus

1.4.3.2. Crohn's disease

1.4.3.3. Celiac

1.4.4. อาการ เจ็บหน้าอก หายใจเหนื่่อย มีไข้

2. Angina pectoris/Stable angina

2.1. CC : เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก

2.2. PI : มีอาการเจ็บอกบริเวณใต้ไหปลาร้า เจ็บหนักๆเหมือนถูกกด ปวดนาน 2-15 นาที อาจมีอาการร่วม คือ คลื่นไส้ มีเหงื่อออกมาก หายใจสั้น

2.3. PE

2.3.1. Lab

2.3.1.1. LDL

2.3.1.2. HDL

2.3.1.3. Triglyceride

2.3.1.4. uric

2.3.1.5. ระดับน้ำตาลในเลือด

2.3.2. ตรวจพิเศษ

2.3.2.1. EKG พบ ST depression

2.4. การซักประวัติ

2.4.1. โรคประจำตัว

2.4.1.1. เบาหวาน

2.4.1.2. โรคอ้วน

2.4.2. อาการเจ็บหน้าอกเหมือนถูกกด เมื่อทำงานหนักและออกกำลังกาย

2.4.3. ความเครียด

3. Unstable angina

3.1. CC : เจ็บหน้าอก เจ็บแน่นจุกกลางหน้าอก

3.2. PI : เจ็บหน้าอกเหมือนถูกกดทับ เจ็บขณะพัก กินยาและนั่งพักไม่ทุเลา เจ็บนาน 30 นาที

3.3. PE

3.3.1. Lab

3.3.1.1. LDH

3.3.1.2. HDL

3.3.1.3. Triglyceride

3.3.1.4. Uric

3.3.2. ผลตรวจพิเศษ

3.3.2.1. EKG

3.4. ซักประวัติ

3.4.1. การมีโรคประจำตัว

3.4.1.1. DM

3.4.1.2. HT

3.4.1.3. DLP

3.4.1.4. โรคไตเรื้อรัง

3.4.1.5. โรคอ้วน

3.4.2. อาการเจ็บไม่สัมพันธ์กับทำกิจกรรม

4. Pericarditis

4.1. CC : เจ็บหน้าอก ร้าวไปหลัง มีไข้

4.2. PI : เจ็บแปลบในช่องอกใต้ต่อกระดูก แวดร้าวไปที่หลัง

4.3. PE

4.3.1. ดู : อาจจะพบ Jugular vein distention

4.3.2. ฟัง

4.3.2.1. Pericardial friction

4.3.2.2. Muffled heart sound

4.3.3. Lab

4.3.3.1. WBC

4.3.3.2. ESR

4.3.3.3. CRP

4.3.3.4. CPK

4.3.4. ตรวจพิเศษ

4.3.4.1. EKG พบ Disfuse ST elevation

4.4. ซักประวัติ

4.4.1. มีอาการเจ็บหน้าอก ร้าวไปที่หลัง มีไข้

4.4.2. มีโรคประจำตัว/ประวัติเคยเป็น

4.4.2.1. TB

4.4.2.2. SLE

4.4.2.3. Meningitis

4.4.2.4. Rheumatic fever

4.4.2.5. ไข้หวัดใหญ่ หวัดเรื้อรัง

5. Acute myocardial Infraction

5.1. cc : เจ็บกลางหน้าอก ร้าวไปที่ไหล่

5.2. PI : มีอาการเจ็บกลางหน้าอก ร้าวไปที่คอ ไหล่ แขนซ้าย มีอาการปวดแบบจุกแน่น ปวดเป็นๆหายๆ หรือปวดมากกว่า 30 นาที มีอาการร่วมกับคลื่นไส้ อาเจียน มีเหงื่อออกมาก

5.3. PE

5.3.1. การตรวจร่างกาย

5.3.1.1. หัวใจเต้นผิดจังหวะ

5.3.1.2. หัวใจหยุดเต้น

5.3.2. LAB

5.3.2.1. การตรวจเลือดหาค่าเอนไซม์ของหัวใจ

5.3.2.1.1. Troponin T and Troponin I

5.3.2.1.2. CKMB

5.3.2.1.3. Myoglobin

5.3.3. ผลการตรวจพิเศษ

5.3.3.1. EKG/ECG

5.3.3.2. CXR

5.3.3.3. Echo

5.3.3.4. EST

5.4. การซักประวัติ

5.4.1. มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ร้าวไปที่คอ ไหล่ แขนข้างซ้าย

5.4.2. โรคประจำตัว

5.4.2.1. DM

5.4.2.2. HT

5.4.2.3. Dyslipidemia

5.4.2.4. โรคหลอดเลือดหัวใจ

5.4.3. การออกกำลังกาย,การทำงานหนัก

5.4.4. ความเครียด

5.4.5. โรคอ้วนไม่ออกกําลังกาย

5.4.6. การรับประทานอาหารจำพวกไขมันสูง แป้ง และโซเดียมสูง

5.4.7. ประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือดของครอบครัว

6. Arrhythmia

6.1. cc: เจ็บหน้าอก ใจสั่น

6.2. PI:เจ็บหน้าอก ใจสั่น หน้ามืด

6.3. PE

6.3.1. ตรวจพิเศษ

6.3.1.1. CXR

6.3.1.2. EKG

6.3.1.3. Echo

6.3.2. BP Drop

6.3.3. Pulse irregular

6.3.4. เหงื่อออกตัวเย็น

6.3.5. ระดับความรู้สึกตัวลดลง

6.3.6. LAB

6.3.6.1. CK-MB

6.3.6.2. ABG

6.3.6.3. CBC

6.3.6.4. Cholesterol

6.4. ซักประวัติ

6.4.1. เจ็บหน้าอกเป็นพักๆ

6.4.2. โรคประจำตัว

6.4.2.1. DM

6.4.2.2. Dyslipidemia

6.4.2.3. Graves'Diseaso

6.4.3. ความเครียด

7. Ischemic heart disease

7.1. cc : เจ็บหน้าร้าวไปตามไหล่ซ้ายและต้นแขน

7.2. PI : มีอาการเจ็บหน้าอก เหมือนถูกบีบรัด เจ็บลึกใต้กระดูกค่อนไปทางซ้าย ร้าวไปตามไหล่ซ้ายและต้นแขน ไปตามข้อศอกข้อมือ นิ้วก้อยและนิ้วนาง รวามทั้งต้นคอและกราม และมีอาการปวดไม่เกิน 5 นาที

7.3. PE

7.3.1. ฟัง : พบเสียง murmur

7.3.2. Lab

7.3.2.1. LDH

7.3.2.2. HDL

7.3.2.3. Triglyceride

7.3.2.4. ระดับน้ำตาลในเลือด

7.3.2.5. Uric

7.3.2.6. CK

7.3.3. ตรวจพิเศษ

7.3.3.1. EKG

7.3.3.2. Echo

7.3.3.3. CXR

7.3.3.4. CT scan

7.4. การซักประวัติ

7.4.1. ลักษณะการเจ็บ

7.4.2. ตำแหน่งที่เจ็บ

7.4.3. ระยะเวลาที่เจ็บ

8. Coronary artery disease

8.1. CC : เจ็บบริเวณกลางหน้าอก ร้าวไปที่แขนทั้ง 2 ข้าง เวียนศีรษะ

8.2. PI : มีอาการเจ็บหน้าอก ร้าวไปทางด้านซ้าย หารใจลำบาก หน้ามืดคล้ายจะเป็นลม

8.3. PE

8.3.1. ฟัง พบเสียง Murmur

8.3.2. Lab

8.3.2.1. CBC

8.3.2.2. LDH

8.3.2.3. HDL

8.3.2.4. Triglyceride

8.3.3. ตรวจพิเศษ

8.3.3.1. CXR

8.3.3.2. CT Angiography

8.3.3.3. MRI

8.3.3.4. ECG

8.3.3.5. Echo

8.4. ซักประวัติ

8.4.1. ตำแหน่งที่เจ็บ ลักษณะการเจ็บ เวลาที่เจ็บ

8.4.2. การรับประทานอาหาร

8.4.3. การสูบบุหรี่

8.4.4. การมีโรคประจำตัว

8.4.5. การเจ็บป่วยในครอบครัว