นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา by Mind Map: นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

1. แนวคิด กระบวนการ การปฏิบัติ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยใช้มาก่อน นั้นย่อมหมายความว่า อุปกรณ์ เครื่องมือสื่อสาร และวิธีการและสื่อต่างๆ ที่สถานศึกษาหนึ่งๆ เคยใช้มาก่อนแล้ว อาจจะเป็นนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีใหม่ของอีกสถานศึกษาหนึ่งได้เช่นกันคะ คำว่านวัตกรรมจึงไม่ได้จำกัดนะคะว่าจะต้องเป็นแค่อุปกรณ์ วัสดุ หรือเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมไปถึง แนวคิด การปฏิบัติ รวมถึงการดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น

2. การประเมินด้านทักษะในศตวรรษที่ 21 - รองรับความสมดุลของการประเมินรวมทั้งมีคุณภาพสูง การทดสอบมาตรฐานที่มีคุณภาพสูงพร้อมกับการประเมินผลในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ - เน้นข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานของนักเรียนที่ถูกฝังลงในการเรียนรู้ในชีวิตประจำวัน - การประเมินการใช้เทคโนโลยีให้มีความสมดุล ความชำนาญนักเรียนซึ่งเป็นการวัดทักษะในศตวรรษที่ 21 - ช่วยให้การพัฒนาคุณภาพนักเรียนนักศึกษาที่แสดงให้เห็นการเรียนรู้ทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อการศึกษาและการทำงานในอนาคต - ช่วยให้มาตรการการประเมินประสิทธิภาพระบบการศึกษาในระดับที่สูงประเมินถึงสมรรถนะของนักเรียนด้านทักษะในศตวรรษที่ 21

2.1. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 - สร้างการเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่สนับสนุนความต้องการของมนุษย์และสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่จะสนับสนุนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ด้วยทักษะในศตวรรษที่ 21 - สนับสนุนการเรียนรู้ชุมชนมืออาชีพที่ช่วยให้การศึกษาเพื่อการทำงานร่วมกันแบ่งปันแนวทางปฏิบัติที่ดีและบูรณาการทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการปฏิบัติในชั้นเรียน - ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ในงานที่เกี่ยวข้องในโลกศตวรรษที่ 21 แวดล้อมจริง (เช่น ปฏิบัติจริงหรือผ่านการทำงานที่ใช้ตามโครงการหรืออื่น ๆ ) - เรียนรู้การใช้เครื่องมือเทคโนโลยีและทรัพยากรอย่างมีคุณภาพ รู้จักการทำงานสำหรับการเรียนรู้เป็นกลุ่มทีมและรายบุคคล - สนับสนุนการติดต่อกับชุมชนและการมีส่วนระหว่างต่างชาติในการเรียนรู้โดยตรงและออนไลน์ การเตรียมความพร้อมให้นักเรียนในศตวรรษที่ 21 อาศัยการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการมีวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายที่ชัดเจน ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ที่จำเป็นในการใช้ชีวิตและทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความรู้และทักษะเพื่อให้สามารถการใช้ชีวิต การทำงาน ดำรงชีพอยู่ได้กับภาวะเศรษฐกิจในสังคมโลกปัจจุบัน ​การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

3. กลุ่มแรกเราเรียกว่า กลุ่มคนแบบ Innovator หรือที่เราเรียกกันว่ากลุ่มนวัตกร กลุ่มคนเหล่านี้จะเป็นกลุ่มแรกๆ ที่ต้องการใช้หรืออยากลองนวัตกรรม แนวคิด วิธีการที่เกิดขึ้นใหม่ๆ แรงจูงใจสำคัญก็คือการคิดว่าตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง คนกลุ่มนี้จะยินดีใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีใหม่ โดยยอมรับกับปัญหาและความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในระยะแรกๆ ในการใช้สิ่งใหม่ๆ เหล่านั้น ยกตัวอย่างเช่น การนำสมาร์ทบอร์ด หรือ การนำ MOOC มาใช้ในห้องเรียน กลุ่ม นวัตกร จะเป็นคนกลุ่มแรกที่สนใจ เข้าไปศึกษาเรียนรู้ และนำไปใช้ในการเรียนการสอนทันที

4. กลุ่มที่ 2 เราเรียกว่ากลุ่ม Early Adopters คือกลุ่มคนที่พร้อมจะเปลี่ยนแปลงตนเองเมื่อเห็นคนอื่นเริ่มใช้ และมองเห็นประโยชน์จากนวัตกรรมหรือเทรนด์ใหม่ๆที่เกิดขึ้น มีความตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง ไม่จำเป็นต้องโน้มน้าวหรือชักจูงให้เปลี่ยนแปลง คิดเป็น 13.5%

5. นวัตกรรม หมายถึง แนวความคิด การปฏิบัติหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อนหรือเป็นการพัฒนา ดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำนวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย แต่เนื่องจากในปัจจุบันที่ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีมีมากขึ้น จึงทำให้มีผู้คิดค้นนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามาประยุกต์ใช้ในการสอนมากขึ้น โดยมุ่งหวังให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดแรงจูงใจในการเรียน อีกทั้งยังประหยัดเวลาในการเรียนการสอนด้วยนะคะ จึงทำให้เกิดเป็นนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศขึ้นมากมาย ไม่ว่าจะเป็นด้านเครื่องมือหรืออุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องวิชวลไลเซอร์ เครื่องแอลซีดี เป็นต้น รวมทั้งการใช้สื่อการสอนใหม่ เช่น บทเรียนคอร์สแวร์ การเรียนการสอนผ่านเว็บ อีเลิร์นนิ่ง วิดีโอสตรีมมิ่ง รวมถึง Social media for Learningการยอมรับในสิ่งใหม่หรือการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งที่เคยทำเป็นประจำ ไปสู่สิ่งใหม่ จะไม่ได้รับการยอมรับ จนกว่าผู้นั้นจะเห็นว่าสิ่งนั้นมีประโยชน์เหมาะสมกับการนำไปใช้ จึงจะเกิดการยอมรับ และค่อยๆ เปลี่ยนแปลงตนให้ยอมรับ และใช้แนวคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งใหม่ๆ เหล่านั้น จากการศึกษาของ Everett M. Rogers เรื่องการเผยแพร่นวัตกรรม หรือ Diffusion of Innovation Model แสดงให้เห็นสัดส่วนของการยอมรับนวัตกรรมที่แตกต่างกัน ซึ่งสามารถแบ่งได้ดังนี้

5.1. กลุ่มที่ 4 เราเรียกว่า Late Majority คือคนส่วนใหญ่ กลุ่มมาทีหลัง คิดเป็นอีก 34% คนกลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มคนที่จะเปลี่ยนแปลงตนเองช้าที่สุด หรืออาจจะเรียกว่าเปลี่ยนแปลงตนเองในนาทีสุดท้าย ถ้าไม่โดนสั่งหรือบังคับ ก็จะไม่ยอมเปลี่ยนแปลง หรือคนอื่นเขาใช้จนจะตกยุคแล้ว ค่อยมาเริ่มใช้ คนกลุ่มนี้มีความต้องการที่จะไม่ตกกระแสหลักไป ซึ่งมากกว่าการคิดถึงประโยชน์ของนวัตกรรมหรือบริการเสียอีก กลุ่มสุดท้ายเราเรียกกันว่า Laggards คือกลุ่มที่ล้าหลัง คิดเป็น 16% ซึ่งมักเป็นกลุ่มผู้มีอายุ ที่เคยใช้เทคโนโลยีเดิมๆ จนเคยชินไม่อยากเปลี่ยนแปลง เนื่องจากไม่ต้องการเรียนรู้ใหม่ คนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงตนเอง มักพอใจกับสิ่งที่ตัวเองมีอยู่แล้วและไม่เชื่อในเรื่องเทคโนโลยีใหม่ๆ แถมบางทีอาจจะต่อต้านการเปลี่ยนแปลงเสียด้วยซ้ำ

5.2. กลุ่มคนกลุ่มที่ 3 เราจะเรียกว่า Early Majority คิดเป็นประมาณ 34% คนกลุ่มนี้มีความพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงตนเอง และมองเห็นประโยชน์จากนวัตกรรมหรือเทรนด์ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น แต่จะระมัดระวังและใช้เหตุผลในการตัดสินใจพอสมควร เพราะต้องการความมั่นใจว่าเทคโนโลยีนี้จะประสบความสำเร็จ โดยอาจจะดูจากกลุ่มคนที่ใช้เทคโนโลยีนี้แรกๆ ว่าใช้ได้ผล มีประโยชน์ จึงจะค่อยๆ เปลี่ยนแปลงตนเอง

6. หลักสูตร และการสอนในศตวรรษที่ 21 - สอนทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งแยกกัน ในบริบทของวิชาหลักและ รูปแบบสหวิทยาการในศตวรรษที่ 21 - มุ่งเน้นไปที่การให้โอกาสสำหรับการใช้ทักษะในศตวรรษที่ 21 ในเนื้อหาและวิธีการตามความสามารถในการเรียนรู้ - ช่วยให้วิธีการเรียนรู้นวัตกรรมที่บูรณาการการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนแนวทางเพิ่มเติมในการใช้ปัญหาเป็นฐาน และทักษะการคิดขั้นสูง - สนับสนุนให้รวมทรัพยากรของชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้าน แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน

7. ทฤษฎี ความหมาย ขอบเขต แนวคิดความสำคัญทางนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

8. กรอบแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

8.1. ปัจจัยสนับสนุนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 องค์ประกอบสำคัญและจำเป็นเพื่อในการเรียนรู้ของนักเรียนทักษะในศตวรรษที่ 21 คือ มาตรฐานศตวรรษที่ 21 การประเมินผลหลักสูตรการเรียนการสอนการพัฒนาอาชีพและสภาพแวดล้อมการเรียนรู้จะต้องสอดคล้องกับระบบสนับสนุนการผลิตที่ก่อให้เกิดผลลัพธ์ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนในปัจจุบัน

8.2. มาตรฐานศตวรรษที่ 21 - มุ่งเน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 นักเรียนมีความรู้ในเนื้อหาและความเชี่ยวชาญ - สร้างความเข้าใจระหว่างวิชาหลัก เช่นเดียวกับรูปแบบสหวิทยาการศตวรรษที่ 21 - เน้นความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมากกว่าความรู้แบบผิวเผิน - การของมีส่วนร่วมของนักเรียนกับ ข้อมูลและ เครื่องมือในโลกแห่งความเป็นจริงและพวกเขาจะพบผู้ เชียวชาญในวิทยาลัยหรือในที่ทำงานและ ชีวิตนักเรียนจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อทำงานอย่างแข็งขัน การแก้ปัญหาที่มีความหมาย - การมีมาตรการหลายๆรูปแบบของการเรียนรู้

8.2.1. การพัฒนามืออาชีพในศตวรรษที่ 21 - ครูมีแนวทางการสอนมีความสามารถสำหรับการบูรณาการทักษะในศตวรรษที่ 21 เครื่องมือและกลยุทธ์การเรียนการสอนไปสู่​​การปฏิบัติในชั้นเรียนของพวกเขา - การเรียนการสอนมที่มุ่งเน้นการทำโครงงาน - แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องจริงสามารถเพิ่มการแก้ปัญหาการคิดเชิงวิพากษ์และอื่น ๆ ทักษะในศตวรรษที่ 21 - ช่วยให้มืออาชีพในชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ สำหรับครูที่ 21 ว่ารูปแบบชนิดของการเรียนรู้ในห้องเรียนที่ดีที่สุดส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียน - การพัฒนา ความสามารถในการระบุตัวตนของนักเรียนโดยครูมีรูปแบบการเรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งรู้จุดแข็งและจุดอ่อนของผู้เรียน - ช่วยให้ครูพัฒนาความสามารถในการใช้กลยุทธ์ต่างๆ (เช่นการประเมินผลการเรียนการสอน) ถึงนักเรียนที่มีความหลากหลายและสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนความแตกต่างการเรียนการสอนและการเรียนรู้ - รองรับการประเมินผลอย่างต่อเนื่องของการพัฒนาทักษะของนักเรียนศตวรรษที่ 21 - ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างชุมชนของผู้ปฏิบัติงานโดยการหันหน้าเข้าหากันการสื่อสารเสมือนและผสม - ใช้รูปแบบความเป็นอันหนึ่งหันเดียวกันและความยั่งยืนของการพัฒนาวิชาชี