มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 2 (IES 2) การพัฒนาทางวิชาชีพระยะเ...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 2 (IES 2) การพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก-ควารู้ความสามารถเชิงเทคนิค by Mind Map: มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 2 (IES 2) การพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก-ควารู้ความสามารถเชิงเทคนิค

1. ขอบเขตของมาตรฐาน

1.1. 1. กำหนดผลการเรียนรู้ความสามารถ ที่ต้องแสดงให้เห็นก่อนที่จะสิ้นสุดการพัฒนาทางวิชาชีพเริ่มแรก

1.2. 2. กำหนดคุณสมบัติของการอนุมัติใบประกอบวิชาชีพ

1.3. 3. กำหนดความรู้ความสามารถด้านต่างๆ และผลการเรียนรู้ที่อธิบายถึงความสามารถเชิงเทคนิค

2. วันที่มีผลบังคับใช้

2.1. ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2015

3. วัตถุประสงค์

3.1. เพื่อกำหนดความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคที่จำเป็นต้องพัฒนาและแสดงให้เห็นก่อนที่จะสิ้นสุดการศึกษา

4. ความรู้ความสามารถเชิงเทคนิค

4.1. 1. การบัญชีการเงินและการรายงานทางการเงิน

4.1.1. 1.1 ประยุกต์ใช้หลักการบัญชีกับการค้าและเหตุการณ์ต่างๆ

4.1.2. 1.2 ประยุกต์ใช้ IFRs หรือ มาตรฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง

4.1.3. 1.3 ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ใช้จัดทำงบ

4.1.4. 1.4 จัดทำงบการเงินและงบการเงินรวมตามมาตรฐาน

4.1.5. 1.5 ตีความงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

4.1.6. 1.6 ตีความรายงานต่างๆ รวมถึงข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน

4.2. 2. การเงินและการบริหารการเงิน

4.2.1. 2.1 เปรียบเทียบแหล่งเงินทุนต่างๆ รวมถึงการจัดหาทุน

4.2.2. 2.2 วิเคราะห์ความต้องการด้านกระแสเงินสดและเงินทุนหมุนเวียนในองค์กร

4.2.3. 2.3 วิเคราะห์ฐานะการเงินปัจจุบันและอนาคตขององค์กร

4.2.4. 2.4 ประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบต่างๆที่ใช้ในการคำนวนต้นทุน

4.2.5. 2.5 ประยุกต์ใช้เทคนิคการจัดทำงบประมาณการลงทุนต่างๆ เพื่อการตัดสินใจ

4.2.6. 2.6 อธิบายวิธีการประเมินมูลค่า

4.3. 3. ภาษีอากร

4.3.1. 3.1 อธิบายข้อกำหนดและการปฏิบัติตามระบบการจัดเก็บภาษี

4.3.2. 3.2 จัดทำการคำนวนภาษีทางตรงและทางอ้อม

4.3.3. 3.3 วิเคราะห์ประเด็นภาษีอากรที่สัมพันธ์กับรายการค้า

4.3.4. 3.4 อธิบายความแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษี การหลีกเลี่ยงภาษี และหนีภาษี

4.4. 4. การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น

4.4.1. 4.1 อธิบายวัตถุประสงค์และขั้นตอนเกี่ยวกับการตรวจงบการเงิน

4.4.2. 4.2 ประยุกต์ใช้มาตรฐานการสอบบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน

4.4.3. 4.3 ประเมินความเสี่ยงของข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงที่กระทบต่องบการเงิน

4.4.4. 4.4 ประยุกต์ใช้วิธีเชิงปริมาณที่ใช้ตรวจสอบ

4.4.5. 4.5 อธิบายองค์ประกอบสำคัญของงานให้ความเชื่อมั่น

4.5. 5. กฎหมายและข้อบังคับ

4.5.1. 5.1 อธิบายกฎหมายและข้อบังคับที่กำกับดูแลกิจการที่มีรูปแบบแตกต่างกัน

4.5.2. 5.2 อธิบายกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม ในการปฏิบัติงาน ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

4.6. 6. เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.6.1. 6.1 วิเคราะห์ความเพียงพอของการควบคุมระบบงานและเทคโนโลยี

4.6.2. 6.2 อธิบายว่าเทคโนโลยีสารสนเทศมี่ประโยชน์ต่อการวิเคราะห์ข้อมูลและการตัดสินใจอย่างไร

4.6.3. 6.3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ด้วยการวิเคราะห์ธุรกิจ

4.7. 7. สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและองค์กร

4.7.1. 7.1 อธิบายสภาพแวดล้อมที่องค์กรดำเนินงานซึ่งรวมถึงแรงผลักดันหลัก ด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย ด้านสังคม ฯลฯ

4.7.2. 7.2 วิเคราะห์ลักษณะสภาพแวดล้อมที่กระทบต่อการค้า

4.7.3. 7.3 ระบุลักษณะสำคัญถึงบทบาทของธุรกิจข้ามชาติ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และตลาดเกิดใหม่

4.8. 8. เศรษฐศาสตร์

4.8.1. 8.1 อธิบายหลักการพื้นฐานของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหาภาค

4.8.2. 8.2 อธิบายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในดัชนีชี้วัดด้านเศรษฐศาสตร์

4.8.3. 8.3 อธิบายโครงสร้างตลาดประเภทต่างๆ

4.9. 9. กลยุทธ์ ธุรกิจ และการจัดการ

4.9.1. 9.1 อธิบายวิธีการต่างๆ ที่ใช้ในการออกแบบ และจัดตั้งรูปแบบองค์กร

4.9.2. 9.2 อธิบายวัตถุประสงค์ของหน้าที่และการดำเนินงานภายในองค์กร

4.9.3. 9.3 วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและภายใน

4.9.4. 9.4 อธิบายกระบวนการที่อาจนำมาใช้ในการดำเนินกลยุทธ์ขององค์กร

4.9.5. 9.5 อธิบายทฤษฎี พฤติกรรมขององค์กร

4.10. 10. การบัญชีบริหาร

4.10.1. 10.1 ประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจและการจัดทำงบ

4.10.2. 10.2 ประยุกต์ใช้เทคนิคเชิงปริมาณในการวิเคราะห์พฤติกรรมต้นทุน

4.10.3. 10.3 วิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช้ทางการเงิน

4.10.4. 10.4 จัดทำรายงาน เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ด้านการบริหาร

4.10.5. 10.5 ประเมินการปฏิบัติงานของผลิตภัณฑ์และส่วนงานธุรกิจ

4.11. 11. การกำกับดูแล บริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน

4.11.1. 11.1 อธิบายหลักการการกำกับดูแลสิทธิและความรับผิดชอบของผู้เป็นเจ้าของ

4.11.2. 11.2 วิเคราะห์องค์ประกอบของกรอบแนวคิด โดยการกำกับดูแลองค์กร

4.11.3. 11.3 วิเคราะห์ความเสี่ยงและโอกาศขององค์กร