นายพลพล ลิขตเจริญธรรม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นายพลพล ลิขตเจริญธรรม by Mind Map: นายพลพล ลิขตเจริญธรรม

1. มะนาว

2. Info Graphic

2.1. มะนาว

2.1.1. สรรพคุณของมะนาว

2.1.1.1. มะนาวช่วยบำรุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใส

2.1.1.2. ช่วยบำรุงตาของคุณให้สดใสอยู่เสมอ

2.1.1.3. มะนาวมีฤทธิ์ที่ช่วยในการกัดด้วย ซึ่งถือว่าเป็นกรดผลไม้อย่างหนึ่ง (AHA) ที่เป็นที่ยอมรับในการช่วยเร่งการผลัดเซลล์ผิวที่เสื่อมสภาพออกไป

2.1.1.4. มะนาวประกอบด้วยวิตามินและแร่ธาตุหลายชนิดที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น วิตามินเอ วิตามินซี ธาตุแคลเซียม ธาตุฟอสฟอรัส กรดซิตริก กรดมาลิก

3. นักวิทยาศาสตร์

3.1. อัลแบร์ท ไอน์ชไตน์

3.1.1. ชื่อ อัลแบร์ท ไอน์ชไตน์ Albert Einstein

3.1.2. เกิด 14 มีนาคม พ.ศ. 2422

3.1.3. ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ (อังกฤษ: special relativity) ถูกเสนอขึ้นในปี ค.ศ. 1905 โดยอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ในบทความของเขา "เกี่ยวกับพลศาสตร์ไฟฟ้าของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ (On the Electrodynamics of Moving Bodies)" สามศตวรรษก่อนหน้านั้น หลักสัมพัทธภาพของกาลิเลโอกล่าวไว้ว่า การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ทั้งหมดเป็นการสัมพัทธ์ และไม่มีสถานะของการหยุดนิ่งสัมบูรณ์และนิยามได้ คนที่อยู่บนดาดฟ้าเรือคิดว่าตนอยู่นิ่ง แต่คนที่สังเกตบนชายฝั่งกลับบอกว่า ชายบนเรือกำลังเคลื่อนที่ ทฤษฏีของไอน์สไตน์รวมหลักสัมพัทธภาพของกาลิเลโอเข้ากับสมมติฐานที่ว่า ผู้สังเกตทุกคนจะวัดอัตราเร็วของแสงได้เท่ากันเสมอ ไม่ว่าสภาวะการเคลื่อนที่เชิงเส้นด้วยความเร็วคงที่ของพวกเขาจะเป็นอย่างไร

3.1.4. เสียชีวิต 18 เมษายน พ.ศ. 2498 (อายุ 76 ปี)

3.1.5. ประวัต ไอน์สไตน์เกิดในเมืองอุล์ม ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค สมัยจักรวรรดิเยอรมัน ห่างจากเมืองชตุทท์การ์ทไปทางตะวันออกประมาณ 100 กิโลเมตร ซึ่งในปัจจุบันคือรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี บิดาของเขาชื่อว่า แฮร์มานน์ ไอน์สไตน์ เป็นพนักงานขายทั่วไปซึ่งกำลังทำการทดลองเกี่ยวกับเคมีไฟฟ้า มารดาชื่อว่า พอลลีน โดยมีคนรับใช้หนึ่งคนชื่อ คอช ทั้งคู่แต่งงานกันในโบสถ์ในสตุ๊ทการ์ท (เยอรมัน: Stuttgart-Bad Cannstatt) ครอบครัวของเขาเป็นชาวยิว

3.2. สตีเฟน วิลเลียม ฮอว์กิง

3.2.1. ชื่อ สตีเฟน วิลเลียม ฮอว์กิง Stephen William Hawking

3.2.2. เกิด 8 มกราคม พ.ศ. 2485

3.2.3. หลุมดำ (อังกฤษ: black hole) หมายถึงเทหวัตถุในเอกภพที่มีแรงโน้มถ่วงสูงมาก ไม่มีอะไรออกจากบริเวณนี้ได้แม้แต่แสง ยกเว้นหลุมดำด้วยกัน เราจึงมองไม่เห็นใจกลางของหลุมดำ หลุมดำจะมีพื้นที่หนึ่งที่เป็นขอบเขตของตัวเองเรียกว่าขอบฟ้าเหตุการณ์ ที่ตำแหน่งรัศมีชวาร์สชิลด์ ถ้าหากวัตถุหลุดเข้าไปในขอบฟ้าเหตุการณ์ วัตถุจะต้องเร่งความเร็วให้มากกว่าความเร็วแสงจึงจะหลุดออกจากขอบฟ้าเหตุการณ์ได้ แต่เป็นไปไม่ได้ที่วัตถุใดจะมีความเร็วมากกว่าแสง วัตถุนั้นจึงไม่สามารถออกมาได้อีกต่อไป

3.2.4. เสียชีวิต 14 มีนาคม ค.ศ. 2018 (76 ปี)

3.2.5. ประวัต สตีเฟน ฮอว์กิงเกิดเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2485 ที่เมืองออกซฟอร์ดไชร์ ประเทศอังกฤษ ในวัยเด็กเข้าเรียนหนังสือที่โรงเรียนเซนต์แอลแบน จากนั้นเข้าศึกษาต่อสาขาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด และรับปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับ 1 เมื่อปี พ.ศ. 2505 ต่อมาได้เข้าศึกษาที่ทรินิตีคอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในสาขาจักรวาลวิทยา และได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตเมื่อปี พ.ศ. 2509 หลังจากนั้นก็ได้รับการคัดเลือกเป็นนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด

3.3. เอ็ดวิน พาเวลล์ ฮับเบิล

3.3.1. ชื่อ เอ็ดวิน พาเวลล์ ฮับเบิล Edwin Powell Hubble

3.3.2. เกิด 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889

3.3.3. ดาราจักรชนิดก้นหอย (อังกฤษ: Spiral Galaxy) เป็นดาราจักรแบบหนึ่งในสามประเภทหลักของดาราจักรที่จัดแบ่งโดย เอ็ดวิน ฮับเบิล ในปี ค.ศ. 1936 ตามรูปร่างที่มองเห็น ในงานของเขาที่ชื่อว่า "The Realm of the Nebulae" (อาณาจักรของเนบิวลา)[1] จึงถูกจัดประเภทอยู่ในลำดับของฮับเบิลด้วย ดาราจักรชนิดก้นหอยประกอบด้วยแผ่นจานหมุนแบนๆ ของดาวฤกษ์ แก๊ส และฝุ่น มีจุดศูนย์กลางเป็นกลุ่มดาวฤกษ์หนาแน่นเรียกว่าดุมดาราจักร ล้อมรอบด้วยกลุ่มกลดแบบจางๆ จำนวนมาก ส่วนใหญ่รวมตัวกันเป็นกระจุกดาวทรงกลม

3.3.4. เสียชีวิต 28 กันยายน ค.ศ. 1953 (63 ปี)

3.3.5. ประวัต นักดาราศาสตร์คนสำคัญผู้เป็นตำนานอันนำสู่กำเนิด "กล้องฮับเบิล" ซึ่งเป็นกล้องที่ส่งขึ้นไปโคจรในอวกาศรอบโลก คือ เอ็ดวิน พาวเวลล์ ฮับเบิล (Edwin Powell Hubble) นักดารา ศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งในศตวรรษที่ 20 ผู้เปลี่ยนความเข้าใจของนักดาราศาสตร์ทั้งหลายในเรื่องธรรมชาติของเอกภพ

4. ประวัติส่วนตัว

4.1. ชื่อ

4.1.1. พลพล ลิขตเจริญธรรม

4.1.2. บิว

4.2. วันเกิด

4.2.1. 22/ก.ย./2545

4.3. บ้านเลขที่

4.3.1. 1933/58 อ.อู่ทอง ต.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี

4.4. สิ่งที่ชอบและไม่ชอบ

4.4.1. สิ่งที่ชอบ

4.4.1.1. อาหาร

4.4.1.1.1. เมนูไข่ทุกชนิด

4.4.1.1.2. กระเพราหมูกรอบ

4.4.1.1.3. โกโก้

4.4.1.2. เพลง

4.4.1.2.1. 【BGM/브금】Janji - Chasing Storms Feat. Kédo Rebelle (VØYAGER Remix)

4.4.1.2.2. 徐梦圆 - China-Future ♪

4.4.1.2.3. イニーリトル・アジアンタム - Tiny Little Adiantum [Subbed]

4.4.1.3. เกมส์

4.4.1.3.1. Lost Saga

4.4.1.3.2. 12หาง

4.4.2. สิ่งไม่ชอบ

4.4.2.1. อาหาร

4.4.2.1.1. มะเขือ

4.4.2.1.2. ปลาบางชนิด

4.4.2.2. สัตว์

4.4.2.2.1. หนอน

4.4.2.2.2. หอยทาก

4.4.2.3. วิชา

4.4.2.3.1. คณิต

4.4.2.3.2. บัญชี

4.5. งานอดิเรก

4.5.1. เล่นเกมส์

4.5.2. ฟังเพลง

4.5.3. วาดรูป

4.6. E-Mail

4.6.1. [email protected]

4.7. คติประจำใจ

4.7.1. ทำวันนี้ให้ดีที่สุด รักคนที่รักเรา

5. portfolio

5.1. งานที่5

5.2. งานที่6

5.3. งานที่6

5.4. งานที่7

5.5. งานที่7

5.6. งานที่7

5.7. งานที่7

5.8. งานที่9

5.9. งานที่9

5.10. งานที่8

5.11. งานที่8

5.12. งานที่8

5.13. งานที่8

6. หัวข้อที่10

6.1. 1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (หูฟัง)

6.1.1. หูฟัง

6.1.2. headphone

6.1.3. ประโยชน์ เป็นอุปกรณ์เครื่องเสียงชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในประเภทอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลในรูปแบบเสียง โดยมีหน้าที่คล้ายกับลำโพง ประกอบด้วยตัวหูฟัง จะได้ยินเสียงเมื่อนำไปครอบกับหู และไมโครโฟนขนาดเล็กในตัวสำหรับใช้สำหรับติดต่อสื่อสารเพื่อการพูดได้ เช่นทางโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น รวมถึงใช้เป็นสิ่งบันเทิงในการฟังเพลงเล่นวิดีโอเกมส์ ปรับให้เข้ากับกระบวนการทำงานต่าง ๆ ที่ต้องใช้เสียง สามารถพกพาไปในสถานที่ต่าง ๆ ได้เพราะมีน้ำหนักเบา

6.1.4. ประวัติ หูฟังมีต้นกำเนิดมาจาก นาทาเนียล บอลด์วิน (อังกฤษ: Nathaniel Baldwin) นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด เป็นผู้ประดิษฐ์ชุดหูฟังวิทยุคนแรก แรกเริ่มการคิดค้นยังไม่ได้รับความสนใจจากนักธุรกิจเท่าไหร่ จนกระทั่งช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง กองทัพเรือสหรัฐอเมริกาได้สั่งซื้อชุดหูฟัง 100 ชุด ทำให้วงการชุดหูฟังเป็นที่รู้จักมากขึ้น หลังจากนั้นนักบินสองคนซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทแพนทรอนิกส์ (อังกฤษ: Plantronics) ได้เริ่มผลิตชุดหูฟังที่มีน้ำหนักเบาเหมาะสำหรับการสวมใส่ โดยทดลองใช้ในเครื่องบินเป็นครั้งแรก เพื่อแก้ปัญหาความยากลำบากที่ได้รับจากการใช้หูฟังขนาดใหญ่ ทำให้หูฟังเป็นอุปกรณ์ที่ได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบันเพราะช่างโดม รวมทั้งพัฒนาให้มีการใช้งานไร้สายหรือที่เรียกกันว่า บลูทูธ

6.2. 2 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ฮาร์ดดิสก์)

6.2.1. ฮาร์ดดิสก์

6.2.2. hard disk drive

6.2.3. ประโยชน์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับแผงวงจรหลัก (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง

6.2.4. ประวัติ ฮาร์ดดิสก์ที่มีกลไกเรื่มต้นแบบปัจจุบันถูกประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2499 โดยนักประดิษฐ์ยุคบุกเบิกแห่งบริษัทไอบีเอ็ม เรย์โนล์ด จอห์นสัน โดยมีความจุเริ่มแรกที่ 100 กิโลไบต์ มีขนาด 20 นิ้ว ในปี พ.ศ. 2523 ฮาร์ดดิสก์ยังเป็นสิ่งที่หายากและราคาแพงมาก แต่หลังจากนั้นฮาร์ดดิสก์กลายเป็นมาตรฐานของพีซีและราคาถูกลงมาก สิ่งที่เปลี่ยนแปลงของฮาร์ดดิสก์จากปี 1980 ถึงปัจจุบัน

6.3. 3 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (โซลิดสเตตไดรฟ์)

6.3.1. โซลิดสเตตไดรฟ์

6.3.2. Solid state drive, SSD

6.3.3. ประโยชน์ เอสเอสดี คือ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้ชิปวงจรรวมที่ประกอบรวมเป็น หน่วยความจำ เพื่อจัดเก็บข้อมูลแบบถาวรเหมือนฮาร์ดดิสก์ เทคโนโลยีของโซลิดสเตตไดรฟ์ถูกสร้างมาเพื่อทดแทนฮาร์ดดิสก์จึงทำให้มีอินเทอร์เฟส อินพุต/เอ้าพุต เหมือนกันและสามารถใช้งานแทนกันได้ และเนื่องจากโซลิดสเตตไดรฟ์ถูกสร้างด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์จึงไม่มีชิ้นส่วนจักรกลใดๆที่มีการเคลื่อนที่ (หลักการของ ฮาร์ดดิสก์ และ ฟรอปปี้ดิสก์ คือใช้จานแม่เหล็กหมุน) ส่งผลให้ความเสียหายจากแรงกระแทกของโซลิดสเตตไดรฟ์นั้นน้อยกว่าฮาร์ดดิสก์ (หรือทนต่อการแรงสั่นสะเทือนได้ดี) โดยการเปรียบเทียบจากการที่โซลิดสเตตไดรฟ์ไม่ต้องหมุนจานแม่เหล็กในการอ่านข้อมูลทำให้อุปกรณ์กินไฟน้อยกว่า และใช้เวลาในการเข้าถึงข้อมูล (access time) และเวลาในการหน่วงข้อมูล (latency) น้อยกว่าเนื่องจากสามารถเข้าถึงข้อมูลในตำแหน่งต่างๆ ได้รวดเร็วและทันทีโดยไม่ต้องรอการหมุนจานแม่เหล็กให้ถึงตำแหน่งของข้อมูล

6.3.4. ประวัติ คำว่าโซลิดสเตตไดรฟ์เป็นคำกว้างๆ ที่อธิบายถึงอุปกรณ์เก็บข้อมูลลักษณะเดียวกับฮาร์ดดิสก์แต่ใช้หน่วยความจำในการเก็บข้อมูลทดแทนการใช้จานแม่เหล็ก โซลิดสเตตไดรฟ์จึงมีหลายชนิดซึ่งแตกต่างกันตามชนิดหน่วยความจำที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ปัจจุบันหน่วยความจำที่นิยมนำมาใช้ในโซลิดสเตตไดรฟ์คือ หน่วยความจำแฟลช ซึ่งพบเห็นได้ทั่วไปและเป็นที่นิยมที่สุดแต่มีข้อเสียที่จำกัดจำนวนครั้งในการเขียนข้อมูลทับ และอีกชนิดคือ เอสเอสดีจาก DDR SDRAM หรือแรมที่ใช้เป็นหน่วยความจำหลักในคอมพิวเตอร์ที่เรารู้จักดี ซึ่งเร็วกว่าหน่วยความจำแฟลชมากและเขียนทับได้ไม่จำกัด แต่เพราะว่า DDR SDRAM เป็นหน่วยความจำชั่วคราวดังนั้นการที่จะให้ทำงานเป็นหน่วยความจำถาวรก็ต้องมีแหล่งไฟฟ้าที่ถาวรเลี้ยงเพื่อไม่ให้ลืมข้อมูล ด้วยข้อจำกัดนี้ทำให้ไม่เป็นที่นิยมในการใช้ทั่วไปตามบ้านเรือนแต่นิยมในอุตสาหกรรมที่ต้องการแหล่งเก็บข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูง

6.4. 4 ซอฟต์แวร์ (CPU-Z)

6.4.1. วีพียู-แซด

6.4.2. CPU-Z

6.4.3. ประโยชน์ โปรแกรม CPU-Z จะทำให้คุณทราบข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ สเปคคอมพิวเตอร์ ของคุณ อย่างเช่น ข้อมูลเกี่ยวกับซีพียู (CPU) เมนบอร์ด (Motherboard) หรือจะเป็น หน่วยความจำ (Memory - RAM) หรือจะเป็น ส่วนของกราฟฟิค (Display Card / Graphic Card) และระบบคอมพิวเตอร์ในส่วนอื่นๆ ได้อีกด้วย เรียกได้ว่าโปรแกรม CPU-Z

6.5. 5 ซอฟต์แวร์ RAMMAP

6.5.1. แรมแมพ

6.5.2. RAMMAP

6.5.3. ประโยชน์ เป็นโปรแกรมที่มีไว้สำหรับดูข้อมูลการทำงานของแรม (RAM - Random Access Memory) ในลักษณะที่เจาะลึกเข้าไปในรายละเอียดการทำงานในส่วนต่างๆ ในแต่ละโปรแกรมที่แรมกำลังทำงานอยู่ มีการแบ่งสีสันในแต่ละประเภทการใช้งานของ RAM ให้สามารถดูข้อมูลได้ง่ายและชัดเจนมากขึ้น โปรแกรมสามารถดูรายละเอียดของตำแหน่งที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจำเสมือน (Pagefile) ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงลึกของระบบคอมพิวเตอร์ รวมถึงการดูปริมาณข้อมูลและโปรเซส (Process) ที่ใช้งานของแรมกับไฟล์ต่างๆ ในระบบปฏิบัติการได้อย่างละเอียดยิบ

6.5.4. ประวัติ โปรแกรม RAMMap นี้ ทางผู้พัฒนา โปรแกรม (Program Developer) เขาได้แจกให้ ทุกท่านได้นำไปใช้กันฟรีๆ (FREE) ท่านไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น โดยท่านสามารถที่จะ ติดต่อกับทาง ผู้พัฒนาโปรแกรมนี้ได้ผ่านทางช่องทางเว็บไซต์ (Website) : Troubleshooting and Support | TechNet (ภาษาอังกฤษ) หรือทางเว็บไซต์ (Website) :https://support.microsoft.com/th-th (ภาษาไทย) ได้ทันทีเลย