Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ข้อมูลส่วนตัว by Mind Map: ข้อมูลส่วนตัว

1. 2.เพาเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือกพาวเวอร์ซัพพลายที่มีจำนวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพอhttp://computer.kapook.com/equpiment.php

2. 3.เมนบอร์ด เมนบอร์ด (Main board) แผ่นวงจรไฟฟ้าแผ่นใหญ่ที่รวมเอาชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญๆมาไว้ด้วยกัน ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุม การทำงานของ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในพีชีทั้งหมด มีลักษณะเป็นแผ่น รูปร่างสี่เหลี่ยมแผ่นที่ใหญ่ที่สุดในพีชี ที่จะรวบรวมเอาชิปและไอชี (IC = Integrated Circuit) รวมทั้ง การ์ดต่อพ่วงอื่นๆ เอาไว้ด้วยกันบนบอร์ดเพียงอันเดียวเครื่องพีชีทุกเครื่องไม่สามารถทำงาน ได้ถ้าขาดเมนบอร์ด อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

3. 1.เคส เคส (Case) Case หรือ "เคส" คือ ตัวถังหรือตัวกล่องคอมพิวเตอร์ หลายคนจะเรียกว่าซีพียูเนื่องจากเข้าใจผิด สำหรับเคสนั้นใช้สำหรับบรรจุอุ ปกรณ์อิเลคทรอนิคส์หลักของคอมพิวเตอร์เอาไว้ข้างใน เช่น CPU เมนบอร์ด การ์ดจอ ฮาร์ดดิสก์ พัดลม ระบายความร้อน และที่ขาดไม่ได้ก็คือ Power Supply ซึ่งจะมีติดอยู่ในเคสเรียบร้อย เคสคอมพิวเตอร์ควรเลือกที่รูปทรงสูงๆ เพื่อจะได้ติดตั้งอุปกรณ์ได้ง่าย และควรเลือกเคสที่มีช่องสำหรับติดตั้งฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ เผื่อเอาไว้หลายๆ ช่อง ในกรณีที่ต้องการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมในภายหลังจะได้ง่ายขึ้นhttps://sites.google.com/site/beeumapon11/khes-case

4. ตัวตน

5. ประวัตืส่วนตัว

6. ประกาศนียบัตร

7. กิจกรรม

8. Portfolio

9. ประวัติการศึกษา

10. ต้นกัญชา จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุกฤดูเดียว มีความสูงไว้ประมาณ 1-3 เมตร ลำต้นมีขนาดเล็ก ตั้งตรง ลักษณะของลำต้นเป็นเหลี่ยม มีขนสีเขียวอมเทาและไม่ค่อยแตกสาขา ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด ขึ้นได้ในดินทุกชนิด

10.1. ตำรายาไทยจะใช้เมล็ดกิน เป็นยาชูกำลัง ช่วยเจริญอาหาร แต่ถ้ากินมากจะมีอาการหวาดกลัว และหมดสติ

10.2. ช่วยขยายหลอดลมและลดการหด ตัวของหลอดลม ด้วยการนำใบสด มาหั่นให้เป็นฝอย แล้วเอาไปตากแห้ง

10.3. เมล็ดมีสรรพคุณเป็นยาแก้ท้องผูก ใช้เป็นยาแก้ท้องผูกในคนสูงอายุได้ดี ด้วยการใช้เมล็ดซึ่งมีน้ำมัน 30% ให้ใช้ร่วมกับตัวยาอื่นๆในตำรับยา

10.4. ใบใช้เป็นยาแก้ไข้ผอมเหลือง ไม่มีกำลัง ตัวสั่น เสียงสั่น

10.5. นำยาสีเขียวสกัดได้จากยอดอ่อน ด้วยแอลกอฮอล์ มีสรรพคุณเป็น ยาแก้โรคแก้ปวดท้องและ โรคท้องร่วงส่วนเมล็ดก็มี

10.6. ใช้ดอกผสมกับยาฉุนพญามือเหล็ก นำมาหั่นและสูบเป็นยา ช่วยกัดเสมหะในลำคอ

10.7. ดอกใช้เป็นยาแก้โรคเส้นประสาท เช่น นอนไม่หลับ คิดมาก หรือใช้กับผู้ป่วยมี่เบื่ออาหาร โดยนำมาปรุงเป็นอาหารให้กิน

10.8. ใบจากพืชชนิดนี้สามารถ นำมาเลี้ยงสัตว์ได้

10.9. เมล็ดใช้เป็นยาแก้กระหายน้ำ

10.10. 90 เป็นสารเคมีสารสังเคราะห์

10.11. 10 เป็นพวกสาร เสพติด

11. 2.หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur) หลุยส์ ปาสเตอร์ เป็นนักเคมีและนักจุลชีววิทยาชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1822 (พ.ศ. 2365) และเสียชีวิตลงในวัย 72 ปี เมื่อวันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 1895 (พ.ศ. 2438) ซึ่งเขาคนนี้ถือว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ช่วยชีวิตผู้คนมากที่สุดคนหนึ่งเลยทีเดียว เพราะเป็นผู้คิดค้นวิธีรักษาโรคต่าง ๆ มากมาย เช่น โรคพิษสุนัขบ้าและโรคแอนแทรกซ์ ยิ่งไปกว่านั้น ยังช่วยทำให้เราสะดวกสบายมากขึ้น จากการคิดค้นวิธีพาสเจอร์ไรส์ เพื่อฆ่าเชื้อโรคและถนอมอาหารให้เก็บได้นานขึ้นอีกด้วย

12. 3.อ็องตวน-โลร็อง เดอ ลาวัวซีเย (ฝรั่งเศส: Antoine-Laurent de Lavoisier เสียงอ่านภาษาฝรั่งเศส: [ɑ̃twan lɔʁɑ̃ də lavwazje] ; 26 สิงหาคม พ.ศ. 2286 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2337) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสผู้ซึ่งต้องจบชีวิตลงโดยกิโยติน เขามีผลงานสำคัญคือ ได้ตั้งกฎการอนุรักษ์มวล (หรือกฎทรงมวล) และการล้มล้างทฤษฎีโฟลจิสตัน ซึ่งเป็นประโยชน์มากในการศึกษาวิชาเคมี องตวน ลาวัวซีเย เกิดในตระกูลผู้ดีตระกูลหนึ่ง ต่อมาได้ศึกษาต่อยังวิทยาลัยมาซาแร็ง (Mazarin College) ในสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ พฤกษศาสตร์ และเคมี เขามีความสนใจอย่างแรงกล้าในวิชาเคมี โดยการชักจูงของเอเตียน กงดียัก (Étienne Condillac) ช่วงปี พ.ศ. 2318 อ็องตวนได้พัฒนาการผลิตดินปืน และการใช้โพแทสเซียมไนเตรต หรือดินประสิว ในการเกษตร งานที่สำคัญอย่างหนึ่งของเขาก็คือ การทดลองเกี่ยวกับปฏิกิริยาการเผาไหม้ เขากล่าวว่าการเผาไหม้เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับออกซิเจน และการสลายสารอาหารในสิ่งมีชีวิต ก็คือปฏิกิริยาการเผาไหม้เช่นเดียวกัน เพียงแต่ช้าและอ่อนกว่า จนทำให้ทฤษฎีโฟลจิสตัน ซึ่งกล่าวว่า เมื่อสสารถูกเผาไหม้ ก็จะปล่อยสารที่เรียกว่าโฟลจิสตันออกมา ต้องมีอันยกเลิกไป นอกจากนี้ อ็องตวนยังได้ค้นพบว่า "อากาศที่ไหม้ไฟได้" ของเฮนรี คาเวนดิช ซึ่งอ็องตวนเรียกมันว่า ไฮโดรเจน (ภาษากรีกหมายถึง ผู้สร้างน้ำ) เมื่อรวมกับออกซิเจนจะได้หยดน้ำ ซึ่งไปตรงกับผลการทดลองของโจเซฟ พริสต์ลีย์ ในด้านปริมาณสัมพันธ์ (stoichiometry) อ็องตวนได้ทดลองเผาฟอสฟอรัสและกำมะถันในอากาศ และพิสูจน์ได้ว่ามวลของผลิตภัณฑ์มีมากกว่ามวลของสารตั้งต้น ซึ่งมวลที่เพิ่มได้มาจากอากาศนั่นเอง จึงทำให้เกิดกฎการอนุรักษ์มวล หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กฎทรงมวล หนังสือของเขาชื่อ Traité Élémentaire de Chimie พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2332 ภายในมีเนื้อหาเกี่ยวกับกฎการอนุรักษ์มวล และปฏิเสธการมีอยู่ของทฤษฎีโฟลจิสตัน

13. 1.เซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) แน่นอนว่าในบรรดานักวิทยาศาสตร์เก่ง ๆ จะขาดนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษอย่าง เซอร์ไอแซก นิวตัน ไม่ได้เด็ดขาด โดย เซอร์ไอแซก นิวตัน เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 (พ.ศ. 2185) และเสียชีวิตลงขณะอายุ 85 ปี ในวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1727 หรือ พ.ศ. 2270 (ตามปฏิทินจูเลียนของ จูเลียส ซีซาร์) ซึ่งเขาเป็นอัจฉริยะที่เก่งรอบด้านทั้งในฐานะนักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักเล่นแร่แปรธาตุ และนักเทววิทยา โดยผลงานเด่นที่สุดของเขาที่คนรู้จักกันดีที่สุดก็คือ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและกฎแรงโน้มถ่วงสากล ที่เขาคิดขึ้นมาได้จากการสังเกตผลแอปเปิลที่ตกจากต้นนั่นเองเซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) แน่นอนว่าในบรรดานักวิทยาศาสตร์เก่ง ๆ จะขาดนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษอย่าง เซอร์ไอแซก นิวตัน ไม่ได้เด็ดขาด โดย เซอร์ไอแซก นิวตัน เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 (พ.ศ. 2185) และเสียชีวิตลงขณะอายุ 85 ปี ในวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1727 หรือ พ.ศ. 2270 (ตามปฏิทินจูเลียนของ จูเลียส ซีซาร์) ซึ่งเขาเป็นอัจฉริยะที่เก่งรอบด้านทั้งในฐานะนักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักเล่นแร่แปรธาตุ และนักเทววิทยา โดยผลงานเด่นที่สุดของเขาที่คนรู้จักกันดีที่สุดก็คือ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและกฎแรงโน้มถ่วงสากล ที่เขาคิดขึ้นมาได้จากการสังเกตผลแอปเปิลที่ตกจากต้นนั่นเองเซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) แน่นอนว่าในบรรดานักวิทยาศาสตร์เก่ง ๆ จะขาดนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษอย่าง เซอร์ไอแซก นิวตัน ไม่ได้เด็ดขาด โดย เซอร์ไอแซก นิวตัน เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 (พ.ศ. 2185) และเสียชีวิตลงขณะอายุ 85 ปี ในวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1727 หรือ พ.ศ. 2270 (ตามปฏิทินจูเลียนของ จูเลียส ซีซาร์) ซึ่งเขาเป็นอัจฉริยะที่เก่งรอบด้านทั้งในฐานะนักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักเล่นแร่แปรธาตุ และนักเทววิทยา โดยผลงานเด่นที่สุดของเขาที่คนรู้จักกันดีที่สุดก็คือ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและกฎแรงโน้มถ่วงสากล ที่เขาคิดขึ้นมาได้จากการสังเกตผลแอปเปิลที่ตกจากต้นนั่นเองเซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) แน่นอนว่าในบรรดานักวิทยาศาสตร์เก่ง ๆ จะขาดนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษอย่าง เซอร์ไอแซก นิวตัน ไม่ได้เด็ดขาด โดย เซอร์ไอแซก นิวตัน เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 (พ.ศ. 2185) และเสียชีวิตลงขณะอายุ 85 ปี ในวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1727 หรือ พ.ศ. 2270 (ตามปฏิทินจูเลียนของ จูเลียส ซีซาร์) ซึ่งเขาเป็นอัจฉริยะที่เก่งรอบด้านทั้งในฐานะนักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักเล่นแร่แปรธาตุ และนักเทววิทยา โดยผลงานเด่นที่สุดของเขาที่คนรู้จักกันดีที่สุดก็คือ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและกฎแรงโน้มถ่วงสากล ที่เขาคิดขึ้นมาได้จากการสังเกตผลแอปเปิลที่ตกจากต้นนั่นเอง

14. งานเรื่องกัญชา

15. สรรพคุณของกัญชา

16. ประวัติของนักวิทยาศาสตร์

17. โปรไฟล

18. ช้อมูลส่วนตัว

19. กิจกรรม

20. ประกาศนียบัตร

21. ประวัติส่วนตัว

22. หลักฐานการแสดงตัวตน

23. สารบัญ

24. คำนำ

25. อุปกรณ์คอมพิวเตอรื

26. ที่อยู่

26.1. 21/1 หมู่13 ตำบล.เลาขวัญ อำเภอ.เลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี

27. ชื่อเล่น

27.1. ถิน

28. ช่องทางติดต่อ

28.1. 0616639927

28.2. Adison Pansawan

28.3. 0616639927

29. รูปประจำตัว

30. วันเดือนปีเกิด

30.1. 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2545

31. อายุ

31.1. 16 ปี

32. E-Mail

32.1. adisonpansawan061

33. ประวัติการศึกษา

33.1. สำเร็จการศึกษาชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่3

33.1.1. โรงเรียนบ้านหนองแสลบ

33.2. กำลังศึกาาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่2/2

33.2.1. โรงเรียนอู่ทอง

34. นิสัยส่วนตัว

34.1. หงุดดหงิดง่าย ชอบแบ่งปัน

35. คติประจำใจ

35.1. ถ้าเราไม่ลงมือทำ มันจะสายเกินแก้

36. ความชอบส่วนตัว

36.1. สีฟ้า

36.2. วิชา คอมพิวเตอร์

36.3. รถแต่ง

37. วิชาระบบปฏิบัติการเบื้องต้น

37.1. จำนวนนักเรียน

37.1.1. 34 คน

38. ความใฝ่ฝัน

38.1. ช่างซ่อมรถ

39. ซอฟแวร์ในการทำงาน

39.1. 1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เขียนขึ้นเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ประสานกันและควบคุมลำดับขั้นตอนการทำงานของระบบต่างๆ ได้แก่ 1. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System Program) มีหน้าที่ – จองและกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ – จัดตารางงาน – ติดตามผลระบบ – ทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน – การจัดแบ่งเวลา – ประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน ประเภทของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ 1. โปรแกรมที่ทำงานด้านควบคุม (Control Programs) หมายถึง โปรแกรมที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ supervisor และ โปรแกรมควบคุมงานด้านอื่นๆ 2. ระบบปฏิบัติการของไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer Operating System หรือ OS)หมายถึงโปรแกรมที่ทำหน้าที่ประสานการทำงาน ติดต่อการทำงาน ระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ Software ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทำหน้าที่ในการจัดการ ระบบ ดูแลรักษาเครื่อง การแปลภาษาระดับต่ำหรือระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อให้เครื่องอ่านได้เข้าใจ จะมีลักษณะเฉพาะโดยขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการและฮาร์ดแวร์ ซึ่งจะไม่สามารถใช้งานข้ามระบบปฏิบัติการได้ โดยระบบปฏิบัติการที่ใช่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ MS-DOS, Windows 3.X, Window 95, Window 98, Window Millennian Edition, Window NT, Window 2000 Professional/Standard, Window XP, Mac OS, OS/2 Warp Client, Unix, Linux, Solaris 3. ระบบปฏิบัติการตามลักษณะการทำงาน ได้แก่ ระบบปฏิบัติการสำหรับคอมพิวเตอร์แบบ Stand-Alone, ระบบปฏิบัติการแบบฝัง, ระบบปฏิบัติการเครือข่าย, ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่, ระบบปฏิบัติการแบบเปิด 2. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities Program) เป็นโปรแกรมระบบอีกประเภทหนึ่งที่อำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในระหว่างการประมวลผลข้อมูลหรือในระหว่างที่กำลังใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งโดยปกติแล้วโปรแกรมอรรถประโยชน์จะทำงานร่วมกับโปรแกรมระบบปฏิบัติการ เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระหน้าที่ของโปรแกรมระบบปฏิบัติการในการควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมที่ทำหน้าที่จัดเตรียมเนื้อที่ในดิสก์ ทำให้สามารถบันทึกข้อมูลลงบนดิสก์ได้ หรือโปรแกรมที่อำนวยความสะดวก ในการทำสำเนาข้อมูลของโปรแกรมที่ต้องการเพื่อนำไปใช้ในที่ต่างๆ ได้หรือช่วยให้ผู้ใช้สามารถเขียนโปรแกรม สร้างแฟ้มข้อมูล หรือข้อความต่างๆ ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เป็นต้น ตัวอย่างของโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่นิยมใช้กันได้แก่ โปรแกรม Sidekick, PC-Tool หรือ Norton Utility เป็นต้น 3. โปรแกรมแปลภาษา ( Translator) เป็นโปรแกรมซึ่งมักเขียนขึ้นมา โดยบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ หรือบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการแปลความหมายของคำสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ได้แก่ ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล หรือภาษาซี เป็นต้น โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านี้จะต้องใช้โปรแกรมแปลภาษาเพื่อทำการแปลคำสั่งในภาษาเหล่านี้ให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน ซึ่งภาษาเครื่องเป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถทำงานได้ โปรแกรมแปลภาษาที่ใช้กันในปัจจุบัน แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ 1.คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นโปรแกรมแปลภาษาที่เขียนด้วยภาษาระดับสูง หรือซอร์สโปรแกรมให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่อง หรือออบเจ็กต์โปรแกรมในครั้งเดียว ในระหว่างการแปลให้เป็นภาษาเครื่องนั้นคอมไพเลอร์จะตรวจสอบความถูกต้องของการใช้คำสั่งแต่ละคำสั่งในภาษานั้นๆ ว่าถูกต้องตามกฎเกณฑ์ หลักไวยากรณ์ของภาษานั้นๆ หรือไม่ นอกจากนี้คอมไพเลอร์จะแปลคำสั่งนั้นให้เป็นคำสั่งภาษาเครื่องได้ ถ้าพบว่ามีการใช้คำสั่งไม่ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของคำสั่งนั้น (Syntax Error) คอมไพเลอร์ก็จะแจ้งข่าวสารข้อความ (Error Message) ให้ผู้เขียนโปรแกรมทราบถึงข้อผิดพลาดในคำสั่ง ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรมจะต้องแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆ ของโปรแกรมให้ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้เสียก่อน และจะต้องทำการแปลโปรแกรมดังกล่าวทั้งโปรแกรมใหม่จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด จึงได้โปรแกรมภาษาเครื่องที่สมบูรณ์และพร้อมที่จะทำการประมวลผลต่อไปได้ 2. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นโปรแกรมแปลภาษาอีกประเภทหนึ่งที่จะแปลคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงครั้งละ 1 คำสั่ง ให้เป็นภาษาเครื่องแล้วนำคำสั่ง ที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทำการประมวลผลทันที หลังจากนั้นก็จะรับคำสั่งถัดไปในโปรแกรมเพื่อแปลเป็นคำสั่งภาษาเครื่อง แล้วทำการประมวลผล ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนกว่าจะจบโปรแกรม ในระหว่างการแปลถ้าหากพบข้อผิดพลาดทางด้าน กฎเกณฑ์ของภาษาในคำสั่งที่รับมาแปล อินเตอร์พรีเตอร์ก็จะหยุดการทำงาน พร้อมทั้งแจ้งข้อผิดพลาด (Error Message) นั้นๆ ให้ผู้เขียนโปรแกรมทราบ เพื่อทำการแก้ไขให้ถูกต้อง การแปลโปรแกรมด้วยอินเตอร์พรีเตอร์ ส่วนใหญ่ไม่มีการเก็บออบเจ็กต์โปรแกรมไว้เหมือนกับคอมไพเลอร์ ดังนั้นเมื่อต้องการใช้งานโปรแกรมนั้นซ้ำอีก จำเป็นต้องทำการแปลคำสั่งใน โปรแกรมนั้นใหม่ทุกครั้ง คอมไพเลอร์จะทำการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง หรือออบเจ็กต์โปรแกรมในครั้งเดียว ในการแปลนี้คอมไพเลอร์จะตรวจสอบความผิดพลาดต่างๆ ของโปรแกรมให้ด้วย และจะยอมให้ออบเจ็กต์ (Object Program) ทำงานก็ต่อเมื่อโปรแกรมได้รับการแก้ไขจนไม่มีที่ผิดแล้วอินเตอร์พรีเตอร์จะทำการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่อง โดยแปลทีละคำสั่งแล้วทำงานตามคำสั่งนั้นทันทีและจะหยุดการทำงานเมื่อสิ้นสุดโปรแกรม หรือเมื่ออินเตอร์พรีเตอร์พบข้อผิดพลาดในคำสั่งที่แปลนั้นๆ อินเตอร์พรีเตอร์จะไม่สร้างออบเจ็กต์โปรแกรมขึ้นมา

39.2. 2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เป็นซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่สร้างขึ้น เพื่อทำงานเฉพาะอย่างโดยประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น ซอฟต์แวร์คำนวณเงินเดือนพนักงาน ซอฟต์แวร์ระบบบัญชีหรือซอฟต์แวร์ระบบคลังสินค้า เป็นต้น โดยซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ผู้ใช้พัฒนาขึ้นเอง (Customized Application Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้ใช้มีความต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่างให้ ซึ่งเป็นงานที่ไม่เคยมีผู้ใดพัฒนาโปรแกรมสำหรับทำงานลักษณะนี้มาก่อน ผู้ใช้จึงต้องพัฒนาโปรแกรมนี้ขึ้นมาเอง 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบบสำเร็จ (Package Application Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ประมวลผลงานลักษณะใดลักษณะหนึ่งซึ่งมีผู้พัฒนาไว้เรียบร้อยแล้ว ผู้ที่ต้องการใช้ซอฟต์แวร์ในลักษณะเดียวกันนี้เพียงแต่ไปซื้อหามาใช้งานได้ทันที โดยไม่ต้องพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้เอง เราสามารถแบ่งซอฟต์แวร์สำเร็จรูปออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้ 2.1 โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการใช้งานด้านการพิมพ์เอกสาร (Word Processing Software) 2.2 โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการใช้งานด้านการคำนวณ (Spreadsheet Software) 2.3 โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อใช้จัดการฐานข้อมูล (Database Management Software) 2.4 โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการใช้งานด้านการพิมพ์ตั้งโต๊ะ (Desktop Publishing Software) 2.5 โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการใช้งานด้านกราฟฟิก (Graphic Software) 2.6 โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการใช้งานประมวลผลทางสถิติ (Statistical Software) 2.7 โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับงานธุรกิจ (Business Software) ประเภทของโปรแกรมภาษา 1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยมีโครงสร้างและพื้นฐานเป็นเลขฐาน 2 และตัวสตริง (Strigs) ซึ่งเครื่องสามารถเข้าใจและพร้อมที่จะทำตามคำสั่งได้ทันที ไม่จำเป็นต้องมีโปรแกรมแปลภาษา ประกอบด้วย 2 ส่วนสำคัญ คือ – ส่วนที่บอกประเภทของคำสั่ง (Operation Code หรือ Op-Code) เป็นส่วนที่จะบอกให้เครื่องประมวลผล เช่น ให้ทำการ บวก ลบ คูณ หาร หรือเปรียบเทียบ เป็นต้น – ส่วนที่บอกตำแหน่งของข้อมูล (Operand) เป็นส่วนที่บอกให้ทราบถึงตำแหน่งหน่วยของข้อมูลที่จะนำมาคำนวณว่าอยู่ในตำแหน่งใดของหน่วยความจำ 2. ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Language) ได้ปรับปรุงให้ง่ายขึ้นโดยสร้างรหัส (Mnemonic Code) และสัญลักษณ์ (Symbol) แทนตัวเลขซึ่งเรียกชื่อภาษาว่า ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ ลักษณะโครงสร้างของภาษาสัญลักษณ์จะใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก คือ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ Op-Code และ Operands โดยใช้อักษรที่มีความหมายและเข้าใจง่ายแทนตัวเลข 3. ภาษาระดับสูง (High-Level Language) เนื่องจากภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ยังคงยากต่อการเข้าใจของมนุษย์ ประกอบกับความเจริญทางด้านซอฟต์แวร์มีมากขึ้น จึงได้มีการพัฒนาให้เป็นคำสั่งที่มีความหมายเหมือนกับภาษาที่มนุษย์ใช้กัน เพื่อให้สะดวกกับผู้เขียนโปรแกรม เช่น ใช้คำว่า PRINT หรือ WRITE แทนการสั่งพิมพ์ หรือแสดงคำว่าใช้คำว่า READ แทนการรับค่าข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ภาษาระดับสูงตัวอย่างเช่น Visual Basic, C, C++, Java เป็นต้น ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาในยุคที่ 1 (First Generation Language:1GL) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาระดับล่าง (Low-level Language)” เป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้ทันทีโดยไม่ต้องผ่านตัวแปลภาษา ดังนั้นจึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ภาษาเครื่อง (Machine Language)” ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขฐานสอง (Binary Code) ที่ใช้เป็นรหัสแทนตัวอักษรหรือข้อความต่างๆ ภาษาในยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language)” เนื่องจากมีการใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลขฐานสอง โดยสัญลักษณ์นั้น ก็คือภาษาอังกฤษ ซึ่งอาจจะเป็น 1 ตัวอักษร หรือกลุ่มตัวอักษรก็ได้ เพื่อใช้แทนคำสั่ง 1 คำสั่ง เช่น ภาษาแอสเซมบลี Assembly ซึ่งคำสั่งของภาษาแอสเซมบลี จะถูกนำไปแปลด้วยตัวแปลภาษาที่เรียกว่า “Assembler” เพื่อให้กลายเป็นภาษาที่เครื่องสามารถเข้าใจคำสั่งนั้นได้ ภาษาในยุคที่ 3 (Third Generation Language : 3GL) จัดว่าเป็นภาษาระดับสูง (High-level Language) เนื่องจากมีการใช้ภาษาอังกฤษเขียนเป็นคำสั่งเป็นประโยคและกลุ่มคำที่มีความหมาย ซึ่งใกล้เคียงกับการใช้ภาษาของมนุษย์ จึงทำให้โปรแกรมเมอร์เข้าใจกฎในการเขียนคำสั่งได้ง่ายขึ้น เช่น Basic, Pascal, Fortran, Cobol,C เป็นต้น ภาษาในยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL) จัดว่าเป็นภาษาระดับสูงเช่นเดียวกัน แต่มีการพัฒนาจากภาษาในยุคที่ 3 ให้มีประสิทธิ ภาพเพิ่มมากขึ้น มีคำสั่งที่สามารถเขียนเป็นภาษาอังกฤษได้มากขึ้น และสามารถนำมาใช้เขียนคำสั่งเพื่อเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลได้ด้วย เช่น Java, Visual Basic ภาษาในยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5GL) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)” เนื่องจากมีการใช้ไวยากรณ์ที่มีโครงสร้างใกล้เคียงกับภาษาของมนุษย์มากที่สุด จึงเป็นภาษาที่ใช้สำหรับพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System :ES) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) Share this: https://suttaganlim.wordpress.comcomputer-software/