IES3 การพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก ทักษะทางวิชาชีพ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
IES3 การพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก ทักษะทางวิชาชีพ by Mind Map: IES3  การพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก  ทักษะทางวิชาชีพ

1. ข้อกำหนด

1.1. การประเมิณทักษะทางวิชาชีพ

1.1.1. สมาชิกสหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศ ต้องจัดกิจกรรม ประเมินผลที่เหมาะสม เพื่อวัดผลวัมฤทธิ์ด้านทักษะทางวิชาชีพ ของผู้มุ่งมั่นประกอบวิชาชีพบัญชี

1.2. การทบทวนหลักสูตร วิชาชีพทางการบัญชี

1.2.1. สมาชิกสหพันธ์บัญชีระหว่างประเทศต้องทบทวนและ ปรับปรุงหลักสูตรวิชาชีพทางการบัญชีที่ออกแบบขึ้น อย่างสม่ำเสมอเพื่อพัฒนาให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษา ระหว่างประเทศฉบับนี้

1.3. ผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางวิชาชีพ

1.3.1. การจัดการองค์กร

1.3.1.1. ปฏิบัติงานภายในระยะเวลาที่กำหนด

1.3.1.2. สอบทานงานของตนเองว่าเป็นไป ตามมาตรฐานขององค์กรหรือไม่

1.3.1.3. สร้างแรงจูงใจและพัฒนาผู้อื่น

1.3.1.4. ใช้ความเป็นผู้นำเพื่อโน้มน้าว จูงใจในการปฤิบัติงาน

1.3.1.5. นำทคโนโลยีมาใช้เพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผล

1.3.1.6. กระจายงานนการมอบหมายงาน

1.3.2. การจัดการตนเอง

1.3.2.1. แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการเรียนรู้

1.3.2.2. ประยุกต์ใช้ความสงสัยเยี่ยง ผู้ประกอบวิชาชีพในการตั้งคำถาม

1.3.2.3. จัดการเวลาและทรัพยากรเพื่อให้บรรลุ ข้อกำหนดทางวิชาชีพ

1.3.2.4. คาดการณ์ความท้าทายและวางแผน แก้ไขปัญหาที่เป็นไปได้

1.3.2.5. เปิดใจกว้างรับอกาสใหม่ๆ

1.3.3. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และการสื่อสาร

1.3.3.1. ให้ความร่วมมือและทำงานเป็นทีม

1.3.3.2. สื่อสารอย่างชัดเจนและกระชับ

1.3.3.3. ตระหนักถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรม และภาษาในการสื่อสาร

1.3.3.4. ประยุกต์ทักษะต่อรองเพื่อการแก้ปัญหา

1.3.3.5. ให้คำปรึกษาเพื่อลดข้อขัดแย้ง

1.3.3.6. นำเสนอความคิดและโน้มน้าวจูงใจเพื่อให้เกิด การสนันสนุนและพันธะสัญญาร่วมกัน

2. วันที่มีผลบังคับใช้

2.1. มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศฉบับนี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2558

3. วัตถุประสงค์

3.1. การกำหนดทักษะทางวิชาชีพที่ผู้มุ่งมั่น ประกอบวิชาชีพจำเป็นต้องพัฒนาและ แสดงให้เห็นก่อนจะสิ้นสุดการพัฒนาทางวิชาชีพ ระยะเริ่มแรกตอบสนองวัตถุประสงค์หลายประการ ได้แก่ การปกป้องส่วนได้เสียสาธารณะ การยกระดับคุณภาพงานของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี และการส่งเสริมความเชื่อมั่นในวิชาชีพบัญชี

4. ขอบเขตของมาตรฐาน

4.1. มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศกำหนดผลการเรียนรู้ ด้านทักษะวิชาชีพที่ผู้มุ่งมั่นประกอบวิชาชีพบัญชีจำเป็นต้อง แสดงให้ก่อนที่จะสิ้นสุดการพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก ได้แก่ -ทักษะทางปัญญา -ทักษะทางด้านความสัมพันระหว่างบุคตลและการสื่อสาร -ทักษะการจัดการตนเอง -ทักษะการจัดการองค์กร

4.2. มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศได้นำเสนอต่อสมาชิกสหพันธ์นักบัญชี ระหว่างประเทศที่มีความรับผิดชอบในการสร้างความเชื่อมั่นว่าการพัฒนา ทางวิชาชีพระยะเริ่มแรกของผู้ประกอบวิชาชีเป็นไปตามข้อกำหนด

4.3. มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศกำหนดความรู้ความสามารถ ด้านต่างๆและผลการเรียนรู้ที่จำเป็นต้องมีก่อนขะสิ้นสุด การพัฒนาทางวิชาชีพ ได้แก่ มาตรฐานการศุกษาระหว่างประเทศ ฉบับที่2 ความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคและมาจรฐานการศึกษา ระหว่างประเทศฉบับที่4 ค่านิยม จริยธรรมและทัศนคติทางวิชาชีพ