Get Started. It's Free
or sign up with your email address
IES3 by Mind Map: IES3

1. คำอธิบายระดับความเชี่ยวชาญ

1.1. พื้นฐาน

1.1.1. การนิยาม การอธิบาย การสรุป และการตีความ หลักการและทฤษฎี พื้นฐานของความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคที่เกี่ยวข้อง

1.1.2. การตระหนักถึงความสำคัญของค่านิยม จริยธรรม และทัศนคติทาง วิชาชีพในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย

1.1.3. การแก้ไขปัญหาที่ไม่ซับซ้อน

1.1.4. การให้ข้อมูลและอธิบายความคิดได้อย่างชัดเจน

1.2. ปานกลาง

1.2.1. การประยุกต์ การเปรียบเทียบ และการวิเคราะห์หลักการและทฤษฎี พื้นฐานของความรู้ความสามารถ

1.2.2. การผสมผสานความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคและทักษะทางวิชาชีพ

1.2.3. การประยุกต์ใช้ค่านิยม จริยธรรม และทัศนคติทางวิชาชีพ

1.2.4. การนำเสนอข้อมูลและการอธิบายความคิดได้อย่างชัดเจน

1.3. สูง

1.3.1. การเลือกใช้และการบูรณาการหลักการและทฤษฎีจากความรู้ ความสามารถเชิงเทคนิคในด้านต่าง ๆ

1.3.2. การบูรณาการความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคและทักษะทางวิชาชีพ เพื่อบริหารและดำเนินโครงการและงานที่ได้รับมอบหมาย

1.3.3. การใช้ดุลยพินิจตามแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับค่านิยม จริยธรรม

1.3.4. การประเมิน การวิจัย และการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน ภายใต้การควบคุม งานอย่างมีขอบเขต

1.3.5. การคาดคะเนสถานการณ์ การขอคำปรึกษาอย่างเหมาะสม

1.3.6. การนำเสนอและการอธิบายข้อมูลที่เกี่ยวข้องในเชิงโน้มน้าวใจ

2. วัตถุประสงค์

2.1. เพื่อกำหนดผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางวิชาชีพที่ผู้มุ่งมั่นประกอบวิชาชีพบัญชี จำเป็นต้องพัฒนา และแสดงให้เห็นก่อนที่จะสิ้นสุดการพัฒนาทางวิชาชีพ

3. ขอบเขตของมาตรฐาน

3.1. กำหนดผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางวิชาชีพที่ผู้มุ่งมั่น ประกอบวิชาชีพบัญชีจำเป็น

3.1.1. (ก) ทักษะทางปัญญา

3.1.2. (ข) ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และการสื่อสาร

3.1.3. (ค) ทักษะการจัดการตนเอง

3.1.4. (ง) ทักษะการจัดการองค์กร

3.2. ได้นำเสนอต่อสมาชิกสหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศ (IFAC) สมาชิกสหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศมีความรับผิดชอบในการสร้างความเชื่อมั่น

3.3. กำหนดความรู้ความสามารถด้านต่าง ๆ และผลการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับความรู้ความสามารถ ที่ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีมุ่งเน้นภายในระยะการพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก

4. ผลการเรียนรู้ด้านทกัษะทางวิชาชีพ

4.1. ปัญญา (ปานกลาง)

4.1.1. ประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลและแง่มุมที่หลากหลาย ผ่านการวิจัย การวิเคราะห์

4.1.2. ประยุกต์ใช้ดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ซึ่งรวมถึงการระบุ และการประเมินทางเลือก

4.2. ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและการสื่อสาร (ปานกลาง)

4.2.1. ให้ความร่วมมือและทำงานเป็นทีม เมื่อปฏิบัติงานให้บรรลุ เป้าหมายองค์กร

4.2.2. ประยุกต์ใช้เทคนิคการฟังเชิงรุกและการสัมภาษณ์ที่มีประสิทธิภาพ

4.2.3. นำเสนอความคิดและโน้มน้าวจูงใจผู้อื่นเพื่อให้เกิดการสนับสนุน และมีพันธสัญญาร่วมกัน

4.3. การจัดการตนเอง (ปานกลาง)

4.3.1. แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการเรียนรู้ตลอดชีวิต

4.3.2. จัดการเวลาและทรัพยากรเพื่อให้บรรลุข้อกำหนดทางวิชาชีพ

4.3.3. เปิดใจกว้างรับโอกาสใหม่ๆ ที่เข้ามา

4.4. การจัดการองค์กร (ปานกลาง)

4.4.1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายตามแนวปฏิบัติที่ระบุไว้ภายใน ระยะเวลาที่กำหนด

4.4.2. ประยุกต์ใช้ทักษะความเป็นผู้นำเพื่อโน้มน้าวจูงใจผู้อื่นในการ ปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายองค์กร