IES3 การพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก –ทักษะทางวิชาชีพ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
IES3 การพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก –ทักษะทางวิชาชีพ by Mind Map: IES3 การพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก –ทักษะทางวิชาชีพ

1. ข้อกำหนด

1.1. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางวิชาชีพ ตามความรู้ความสามารถ

1.1.1. ปัญญา

1.1.1.1. ประยุกต์ใช้ดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ

1.1.1.2. ประยุกต์ใช้เหตุผล การวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ และการคิดเชิง นวัตกรรม ในการแก้ปัญหา

1.1.2. ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและการสื่อสาร

1.1.2.1. ให้ความร่วมมือและทำงานเป็นทีม

1.1.2.2. ประยุกต์ใช้ทักษะการให้คำปรึกษาเพื่อลดหรือแก้ไขข้อขัดแย้ง แก้ไขปัญหา และสร้างโอกาสให้ได้มากที่สุด

1.1.3. การจัดการตนเอง

1.1.3.1. แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการเรียนรู้ตลอดชีวิต

1.1.3.2. คาดการณ์ความท้าทายและวางแผนหาทางแก้ปัญหาที่เป็นไปได้

1.1.4. การจัดการองค์กร

1.1.4.1. ประยุกต์ใช้ทักษะการบริหารคนในการสร้างแรงจูงใจและพัฒนาผู้อื่น

1.1.4.2. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายตามแนวปฏิบัติที่ระบุไว้ภายในระยะเวลาที่กำหนด

1.2. การทบทวนหลักสูตรวิชาชีพทางการบัญชี

1.2.1. ต้องทบทวนและปรับปรุงหลักสูตรวิชาชีพทางการบัญชีที่ ออกแบบขึ้นอย่างสม่าเสมอเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศฉบับนี้

2. การประเมินทักษะทางวิชาชีพ

2.1. เช่น การจดบันทึกการทำงาน

2.2. การมีส่วนร่วมในการประเมินแบบ 360 องศา

2.3. การรวบรวมแฟ้มสะสมงานที่แสดงหลักฐานการ บรรลุผลการเรียนรู้

2.4. การติดตามผลงานโดยผู้ควบคุมงานภาคปฏิบัติ

3. วัตถุประสงค์

3.1. เพื่อกำหนดผลการเรียนรู้ด้านทักษะทาง วิชาชีพที่ผู้มุ่งมั่นประกอบวิชาชีพบัญชีจำเป็นต้องพัฒนาและแสดงให้เห็นก่อนที่จะสิ้นสุดการ พัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีได้

4. ขอบเขตของมาตรฐาน

4.1. ผู้มุ่งมั่นประกอบวิชาชีพบัญชีจำเป็นต้องแสดงให้เห็นก่อนที่จะสิ้นสุดการพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรกทักษะทางวิชาชีพ ได้แก่ (ก) ทักษะทางปัญญา (ข) ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการสื่อสาร (ค) ทักษะการจัดการตนเอง (ง) ทักษะการจัดการองค์กร

4.2. ได้นำเสนอต่อสมาชิกสหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศ (IFAC) สมาชิกสหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศมีความรับผิดชอบในการสร้างความเชื่อมั่นว่าการ พัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรกของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีเป็นไปตามข้อกำหนดของมาตรฐาน การศึกษาระหว่างประเทศฉบับนี้

4.3. กำหนดความรู้ความสามารถด้านต่างๆ และผลการเรียนรู้ที่อธิบายถึง ทักษะทางวิชาชีพที่ผู้มุ่งมั่นประกอบวิชาชีพบัญชีจำเป็นต้องมีก่อนที่จะสิ้นสุด การพัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก

4.4. คำนิยามและคำอธิบายของคำศัพท์ที่สำคัญที่ใช้ในมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศและกรอบ มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีเป็นไปตามอภิธานคำศัพท์ของ คณะกรรมการมาตรฐานการศึกษาการบัญชีระหว่างประเทศ

5. วันที่มีผลบังคับใช้

5.1. มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2558