วิธีการถ่ายโอนข้อมูล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล by Mind Map: วิธีการถ่ายโอนข้อมูล

1. การถ่ายโอนข้อมูลเเบบอนุกรม

1.1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องการตัวกลางสำหรับการสื่อสารเพียงช่องเดียวหรือสายเพียงคู่เดียว

1.1.1. ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าแบบขนานสำหรับการส่งระยะทางไกลๆ

1.1.1.1. โดยเฉพาะเมื่อเรามีระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์ไว้ใช้งานอยู่แล้ว ย่อมจะเป็นการประหยัดกว่าที่จะทำการติดต่อสื่อสารทีละ 8 ช่อง เพื่อการถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน

1.2. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมจะเริ่มโดยข้อมูลจากจุดส่งจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญาณอนุกรมเสียก่อน

1.2.1. แล้วคอยทยอยส่งออกทีละบิตไปยังจุดรับ

1.2.1.1. จุดรับจะต้องมีกลไกในการเปลี่ยนข้อมูลที่ส่งมาทีละบิต ให้เป็นสัญญาณแบบขนานซึ่งลงตัวพอดี

1.2.1.1.1. เช่นบิตที่ 1 ลงที่บัสข้อมูลที่ส่งมาทีละบิต ให้เป็นสัญญาณแบบขนานซึ่งลงตัวพอดี

1.2.2. ในการถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิตระหว่างจุดส่งและจุดรับการส่งข้อมูลแบบนี้จะช้ากว่าแบบขนาน

1.3. การติดต่อแบบอนุกรมอาจจะแบ่งตามรูปแบบการรับ-ส่ง ได้ 3 แบบ คือ

1.3.1. 1. สื่อสารทางเดียว (simplex)

1.3.1.1. ข้อมูลส่งได้ทางเดียวเท่านั้น

1.3.1.2. บางครั้งก็เรียกว่าการส่งทิศทางเดียว (unidirectional data bus)

1.3.2. 2. สื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (half duplex)

1.3.2.1. ข้อมูลสามารถส่งได้ทั้งสองสถานี

1.3.2.2. จะต้องผลัดกันส่งและผลัดกันรับ จะส่งและรับพร้อมกันไม่ได้

1.3.3. 3. สื่อสารสองทางเต็มอัตรา (full duplex)

1.3.3.1. ทั้งสองสถานีสามารถรับและส่งได้ในเวลาเดียวกัน

1.4. ความเร็วของการถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม

1.4.1. หน่วยวัดเป็นบิตต่อวินาที (bps)

1.5. หน่วยที่บรรยายถึงการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณใน 1 วินาที เรียกว่าอัตราบอด (baud rate)

1.5.1. ซึ่งเมื่อนำมาคูณกับจำนวนบิตใน 1 บอด จะได้อัตราบิต (bit rate)

1.5.1.1. แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ 1 ครั้ง

1.5.2. ถ้าเขียนในรูปของสมการคณิตศาสตร์ก็จะได้

1.5.2.1. อัตราบิต (bit rate) = อัตราบอด (baud rate) x (จำนวนบิตใน 1 บอด)

2. การถ่ายโอนข้อมูลเเบบขนาน

2.1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนานทำได้โดยการส่งข้อมูลออกทีละ 1 ไบต์ หรือ 8 บิตจากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ

2.2. อุปกรณ์ตัวกลางระหว่างสองเครื่องจึงต้องมีช่องทางให้ข้อมูลเดินทางอย่างน้อย 8 ช่องทาง

2.3. เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านโดยมากจะเป็นสายสัญญาณแบบขนาน

2.4. ระยะทางของสายสัญญาณแบบขนานระหว่างสองเครื่องไม่ควรยาวเกิน 100 ฟุต

2.4.1. เพราะอาจทำให้เกิดปัญหาสัญญาณสูญหายไปกับความต้านทานของสาย

2.4.2. นอกจากนี้อาจมีปัญหาที่เกิดจากระดับไฟฟ้าสายดินที่จุดรับผิดไปจากจุดส่ง ทำให้เกิดการผิดพลาดในการรับสัญญาณทางฝ่ายรับ

2.5. นอกจากแกนหลักแล้วอาจจะมีทางเดินของสัญญาณควบคุมอื่น ๆ อีก

2.5.1. บิตพาริตี ที่ใช้ในการตรวจสอบความผิดพลาดของการรับสัญญาณที่ปลายทาง

2.5.2. สายที่ควบคุมการโต้ตอบ (hand-shake)