Get Started. It's Free
or sign up with your email address
IES 3 by Mind Map: IES 3

1. วัตถุประสงค์

1.1. เพื่อกำหนดผลการเรียนรู้ด้านทักษะทาง วิชาชีพที่ผู้มุ่งมั่นประกอบวิชาชีพบัญชีจำเป็นต้องพัฒนาและแสดงให้เห็นก่อนที่จะสิ้นสุดการ พัฒนาทางวิชาชีพระยะเริ่มแรก เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีได้

2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางวิชาชีพ

2.1. ด้านของความรู้ ความสามารถ (ระดับความเชี่ยวชาญ)

2.1.1. (ก) ปัญญา (ปานกลาง)

2.1.1.1. ประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูล

2.1.1.2. ประยุกต์ใช้ดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ

2.1.1.3. ระบุได้ว่าเมื่อใดสมควรที่จะปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ

2.1.1.4. ประยุกต์ใช้เหตุผล

2.1.2. (ข) ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและการสื่อสาร (ปานกลาง)

2.1.2.1. ให้ความร่วมมือและทำงานเป็นทีม

2.1.2.2. สือสารอย่างชัดเจนและกระชับ

2.1.2.3. แสดงความเห็นเมื่อแตกต่างด้านวัฒนธรรม , ภาษา

2.1.2.4. ประยุกต์ใช้เทคนิคการฟังเชิงรุก

2.1.3. (ค) การจัดการตนเอง (ปานกลาง)

2.1.3.1. แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการเรียนรู้

2.1.3.2. กำหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงานและติดตามผลงาน

2.1.3.3. จัดการเวลาและทรัพยากร

2.1.3.4. เปิดใจกว้างรับโอกาสใหม่ๆ ที่เข้ามา

2.1.4. (ง) การจัดการองค์กร (ปานกลาง)

2.1.4.1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายในเวลาที่กำหนด

2.1.4.2. ประยุกต์ใช้ทักษะการบริหารคนในการสร้างแรงจูงใจและพัฒนา

2.1.4.3. นำเครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม

3. ขอบเขตของตาตรฐาน

3.1. 1.กำหนดผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางวิชาชีพที่ผู้มุ่งมั่นประกอบวิชาชีพบัญชีจำเป็น

3.1.1. (ก) ทักษะทางปัญญา

3.1.2. (ข)ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการสื่อสาร

3.1.3. (ค) ทักษะการจัดการตนเอง

3.1.4. (ง) ทักษะการจัดการองค์กร

3.2. 2.นำเสนอต่อสมาชิกสหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศ (IFAC) สมาชิกสหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศมีความรับผิดชอบในการสร้างความเชื่อมั่น

3.3. 3.กำหนดความรู้ความสามารถด้านต่างๆ และผลการเรียนรู้ที่อธิบายถึงทักษะทางวิชาชีพที่ผู้มุ่งมั่นประกอบวิชาชีพบัญชีจำเป็น

4. การประเมินทักษะทางวิชาชีพ

4.1. สมาชิกสหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศต้องจัดกิจกรรมการประเมินผลที่เหมาะสมเพื่อวัด ผลสมัฤทธด้าน ิ์ ทักษะทางวิชาชีพของผู้มุ่งมั่นประกอบวิชาชีพบัญช

5. คำอธิบายระดับความเชี่ยวชำญ

5.1. พื้นฐาน

5.1.1. การนิยาม การอธิบาย การสรุป และการตีความ

5.1.2. การปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายโดยใช้ทักษะทางวิชาชีพ

5.1.3. การตระหนักถึงความส าคัญของค่านิยม จริยธรรม และทัศนคติ

5.2. ปานกลาง

5.2.1. การประยุกต์ การเปรียบเทียบ และการวิเคราะห์หลักการและทฤษฎี พื้นฐาน

5.2.2. การผสมผสานความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคและทักษะทางวิชาชีพ

5.2.3. การนำเสนอข้อมูลและการอธิบายความคิดได้อย่างชัดเจนด้วยวาจาและ ลายลักษณ์อักษร

5.3. สูง

5.3.1. การบูรณาการความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคและทักษะทางวิชาชีพ

5.3.2. การประเมิน การวิจัย และการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน ภายใต้การควบคุม งานอย่างมีขอบเขต

5.3.3. การนำเสนอและการอธิบายข้อมูลที่เกี่ยวข้องในเชิงโน้มน้าวใจให้กับผู้มี ส่วนได้เสียหลากหลายกลุ่มได้อย่างสม่ำเสมอ