ประเภทของเฟืองเเละลักษณะการใช้งาน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ประเภทของเฟืองเเละลักษณะการใช้งาน by Mind Map: ประเภทของเฟืองเเละลักษณะการใช้งาน

1. เฟืองเเหวน

1.1. ลักษณะการทำงาน

1.1.1. สำหรับอัตราทดนั้นสามารถออกแบบให้มากหรือน้อยได้โดยขึ้นอยู่กับขนาดของเฟืองตัวนอก (Ring) และเฟืองตัวใน (Pinion) ดังรูปที่ 6 โดยที่ถ้าหากเฟืองตัวในเล็กกว่าเฟืองตัวนอกมากอัตราทดก็จะมากและถ้าหากเฟืองตัวในมีขนาดใกล้เคียงกับเฟืองตัวนอกอัตราทดก็จะน้อย โดยปกติของเฟืองวงแหวนแล้วเฟืองตัวเล็ก (Pinion Gear) ที่อยู่ด้านในจะทำหน้าที่เป็นตัวขับ

1.2. เกียร์

1.3. เครื่องจักรกล

2. เฟืองเฉียง

2.1. ลักษณะการทำงาน

2.1.1. * เมื่อเปรียบเทียบการรับภาระ (Load) แล้ว สำหรับเฟืองขนาดเดียวกัน เฟืองเฉียง (Helical Gear) จะรับภาระ (Load) ได้มากกว่าเฟืองตรง (Spur Gear) เนื่องจากการที่ฟันเฟืองมีลักษณะเอียงจึงทำให้ความยาวของฟันเฟืองยาวกว่าและพื้นที่หน้าสัมผัสของฟันมีมากกว่าเฟืองตรง

2.1.2. * เสียงในขณะทำงานของเฟืองเฉียงจะเงียบกว่าเฟืองตรงเนื่องจากการขบกันของเฟืองจะกระทำอย่างนิ่มนวลกว่า เนื่องจากมุมที่เฉียงของฟันเฟืองทำให้เกิดการเหลื่อม (Overlap) กันของฟันเฟืองขณะหมุน

2.1.3. * เกิดแรงรุน (Trust) ตามแนวแกนมากกว่าในขณะที่หมุนเนื่องจากการเอียงของฟันเฟืองที่มากซึ่งจะส่งผลให้อายุการใช้งานของแบริ่งลดต่ำลง

2.2. เพลา

2.3. เครื่องจักกล

3. เฟืองดอกจอก

3.1. ลักษณะการทำงาน

3.1.1. เฟืองดอกจอกจะมีรูปทรงคล้ายกับกรวยมีทั้งแบบเฟืองตรง (Straight Bevel Gear) และแบบเฟืองเฉียง (Spiral Bevel Gear) เฟืองดอกจอกจะเป็นเฟืองสองตัวที่ขบกันในลักษณะแนวเพลา (Shaft) ของเพลาทั้งคู่จะตั้งฉากหรือตัดกัน (Intersect) ส่วนมากแล้วเพลาของเฟืองทั้งคู่จะตั้งฉากกันเป็นมุม 90 องศา

3.2. อะไหล่รถ

3.3. การส่งกำลังของเรือ

4. เฟืองเกลียวสกรู

4.1. ลักษณะการทำงาน

4.1.1. * ใช้กับชุดเฟืองที่มีการทดรอบมากและมีจำนวนเฟืองมากหลายอัน

4.1.2. * การสึกหรอจะเกิดขึ้นค่อนข้างมากเนื่องจากลักษณะการเคลื่อนที่ส่งกำลังของเฟืองจะมีลักษณะในการลื่นไถล (Sliding Contact) ระหว่างผิวของฟันเฟืองคู่ที่ใช้ส่งกำลัง

4.2. เพลา

4.3. การส่งกำลังของรถยนต์

5. เฟืองตรง

5.1. ลักษณะการทำงาน

5.1.1. * มีความง่ายในการผลิตเนื่องจากรูปแบบของฟันเฟืองไม่สลับซับซ้อน ส่งผลให้ราคาต่ำกว่าเฟืองชนิดอื่น * ไม่มีแรงรุน (Trust) ที่เกิดขึ้นในแนวแกน (No Axial Force) ในขณะที่ทำงาน * มีความง่ายในการผลิตให้มีคุณภาพสูง * เนื่องจากเป็นเฟืองแบบธรรมดาจึงมีความง่ายในการหาซื้อ

5.2. เพลารถ

5.3. เครื่ิองจักรต่างๆ

5.4. รถจักรยานยนต์

6. เฟืองสะพาน

6.1. ลักษณะการทำงาน

6.1.1. * การส่งถ่ายกำลังในเครื่องจักรกล

6.1.2. * ใช้กับเครื่องพิมพ์หรือเครื่อง Plot ขนาดใหญ่

6.1.3. * หุ่นยนต์ (Robot)

6.1.4. * การส่งถ่ายกำลังในระบบบังคับเลี้ยวของรถยนต์ (Steering)

6.2. เครื่องปริ้น

6.3. ประตูเฟืองสะพาน

6.4. รถจักรยานยนต์

7. เฟืองตัวหนอน

7.1. ลักษณะการทำวาน

7.1.1. * สามารถทำอัตราทดได้สูงโดยการเพิ่มความห่างของระยะห่างระหว่างศูนย์กลาง (Center Distance)

7.1.2. * ขณะทำงานจะมีความเงียบและการสั่นสะเทือนน้อย

7.2. เพลา

7.3. เครื่องจักรกล

7.4. รอกหยดน้ำ