Shoulder dystocia

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Shoulder dystocia by Mind Map: Shoulder  dystocia

1. McRobert maneuver

1.1. โดยใหผู้คลอดใช้มือจับบริเวณใต้ข้อพับเข่าแล้วดึงเข้ามาให้ชิดหน้าท้องให้ มากที่สุด พร้อมก้บออกแรงเบ่งขณะที่มดลูกหดรัดตัว แล้วผูทำคลอดดึงศีรษะทารกลงข้างล่าง ไหล่หน้าจะคลอดออกมาเอง

2. สาเหตุ

2.1. เกิดจากไหล่กว้างเกินไปหรือกระดูก

2.2. เชิงกรานมีขนาดเล็กเกินไป

3. ตัวอย่าง Nursing diagnosis

3.1. ทารกมีโอกาสเกิดภาวะ Fetal distress จากการคลอดไหล่ยาก

3.2. ทารกมีโอกาสได้รับอันตรายจากการช่วยคลอดไหล่

3.3. หนทางคลอดอ่อนมีโอกาสฉีกขาดมากผิดปกติ เนืองจากการคลอดไหล่ยาก

3.4. การพยาบาล

3.4.1. ประเมินการคลอดไหล่ยาก

3.4.2. ให้การช่วยเหลือการคลอดไหล่ยาก

3.4.2.1. ตัดฝีเย็บให้กว้างพอ

3.4.2.2. กดเหนือหวัหน่าวในขณะดึงศีรษะทารกลงล่าง

3.4.2.3. ใช้วิธี McRobert maneuver

3.4.2.4. ถ้าไหล่ยังไม่คลอด รายงานแพทยแ์ละเตรียมพร้อมให้การช่วยเหลือ

3.4.2.5. หลงัคลอดประเมินสภาพร่างกายทารก

3.4.2.6. ตรวจสอบการฉีกขาดของหนทางคลอดอ่อน และเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ

3.4.2.7. ดูแลดา้นจิตใจ

4. การช่วยคลอดไหล่ยาก

4.1. Suprapubic pressure

4.1.1. เป็นการทำคลอดไหล่หน้า ให้หลุดออกมาจากรอยต่อกระดูกหัวหน่าว ให้ผู้ช้วยใช้สันมือกดลงบริเวณหัวหน่าวอย่างต่อเนื่องพร้อมกับผู้คลอดดึงศีรษะทารกลง

4.1.2. มักใช้วิธีนี้ร่วมกับ McRoberts maneuver

4.1.3. All fours maneuver

4.1.3.1. ให้ผู้คลอดคุกเข่า ก้มหนา้ เอามือและเข่าทั้งสองข้างยันพื้น

4.1.3.2. ผู้ทำคลอดดึงศีรษะทารกลงตามแรงโนม้ถ่วง

4.1.4. Wood corkscrew maneuver

4.1.4.1. แพทย์ผู้ทำคลอดใช้มือหมุนไหล่หลัง โดยหมุนไปด้านหน้าหรือ ทรวงอกทารก 180 องศา ตามเข็มนาฬิกา เพือ่ให้ไหล่หน้ามาอยู่ในแนวเฉียงแล้วหลดุออกมาจากกระดูกหัวหน่าวได้

4.1.4.2. ให้ยาสลบเพื่อให้กล้ามเนื้อมดลูก ช่องคลอดและฝีเย็บคลายตัว

4.1.5. Zavanelli maneuver

4.1.5.1. ต้องผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง

4.1.5.2. ใช้มือประคองศีรษะทารกจนกว่าจะผ่าตัดนำ ทารกออกมาได้ ถ้าคลอดติดไหล่นาน 5 นาที ทารกมีโอกาสเกิดภาวะสมอง ขาดเลือดไปเลี้ยง

4.1.5.3. กรณีสายสะดือพันคอ ห้ามตัดสายสะดือเพราะทารกจะขาดออกซิเจนทันที

5. การฉีกขาดของปากมดลูก / ช่องคลอด / ฝีเย็บ /

6. ปัจจัยเสี่ยง

6.1. องค์ประกอบก่อนการคลอด

6.1.1. ทารกตัวโต/ เคยคลอดทารกตัวโตมาก่อน

6.1.2. มารดาน้ำหนักเพิ่มมากเกิน BMI>30

6.1.3. มารดาป็นเบาหวาน

6.1.4. ครรภเ์กินกำหนด>42 สัปดาห์

6.1.5. มารดาอายุมาก

6.1.6. ทารกเพศชาย

6.1.7. มีประวัติคลอดไหล่ยากมาก่อน

6.1.8. ช่องเชิงกรานแคบเป็นชนิด Platypelloid

6.2. องค์ประกอบในการคลอด

6.2.1. มีความผิดปกติในระยะที่1ของการคลอด

6.2.2. Protraction disorder

6.2.3. Arrest disorder • 4.ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน • 5.ได้รบั Oxytocin เสริมการหดรัดตัว ของมดลกู • 6.การช่วยคลอดด้วย Midforceps V//E

6.2.4. ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน

6.2.5. ได้รบั Oxytocin เสริมการหดรัดตัว ของมดลกู

6.2.6. การช่วยคลอดด้วย Midforceps V//E

7. ภาวะแทรกซ้อน

7.1. ต่อทารกแรกเกิด

7.1.1. ขาดออกซิเจนและได้รับบาดเจ็บขณะคลอด

7.1.2. กระดูกต้นแขนหรือกระดูกไหปลาร้าหัก บาดเจ็บต่อเสน้ประสาท Brachial plexus ทำใหเ้กิด Erb's palsy

7.1.3. มีปัญหาทำลายระบบประสาท ชัก ทำให้สติปัญญาบกพร่อง อาจตายขณะคลอด

7.2. ต่อมารดา

7.2.1. เสียเลือดมาก