ไฟฟ้าสถิต ( Static electricity)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ไฟฟ้าสถิต ( Static electricity) by Mind Map: ไฟฟ้าสถิต ( Static electricity)

1. ศักย์ไฟฟ้า คือ ระดับไฟฟ้าที่มีอยู่ในวัตถุนั้น ๆ ประจุลบจะเคลื่อนที่จากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำไปยังศักย์ไฟฟ้าสูง ส่วนประจุบวกจะเคลื่อนที่จากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปสู่จุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำ V = ศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็น Volt Q = ประจุไฟฟ้า R = ระยะจากประจุไฟฟ้า ถึงจุดที่ต้องการหาศักย์ไฟฟ้า k = ค่าคงที่ = 9x109 Nm2/c2 ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด คือ ผลต่างระหว่างศักย์ไฟฟ้าของ จุด 2 จุดนั้น VAB = ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง A กับ B VA = ศักย์ไฟฟ้าที่จุด A VB = ศักย์ไฟฟ้าที่จุด B พลังงานศักย์ไฟฟ้า คือ พลังงานศักย์ต่อหนึ่งหน่วยประจุที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้าจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในสนามไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูล Ep = พลังงานศักย์ไฟฟ้า q = ประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ V = ศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็น โวลต์ ส่วนพลังงานในการเคลื่อนประจุจากจุด A ที่มีความต่างศักย์ ไฟฟ้า VA ไปยังจุด B ที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้า VB จะเป็นดังนี้ W = พลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุ มีหน่วยเป็นจูล q = ประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนระหว่างจุด A กับ B V = ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด A กับจุด B จาก V = Ed ดังนั้น d = ระยะระหว่างจุด 2 จุดในสนามไฟฟ้า

2. แรงไฟฟ้า/แรงคูลอมม์

2.1. 1.แรงดูด/ประจุต่างชนิดกัน

2.2. 2.แรงผลัก/ประจุชนิดเหมือนกัน

3. กฎของคูลลอมบ์

3.1. F = แรงระหว่างประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็น นิวตัน Q1 , Q2 = ประจุไฟฟ้าทั้งสอง มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ R = ระยะห่างระหว่างประจุ มีหน่วยเป็น เมตร k = ค่าคงที่ในกฎของคูลอมบ์ = 9x109 Nm2/c2

3.2. F=KQ1Q2หารRกำลัง2

4. สนามไฟฟ้าที่ผิวทรงกลมตัวนำ

4.1. สนามไฟฟ้าที่ผิวทรงกลมมีค่ามากที่สุด กราฟสนามไฟฟ้าของตัวนำทรงกลม สนามไฟฟ้าตั้งฉากกับผิวทรงกลมเสมอ

4.1.1. E=kQหารRกำลัง2

4.1.2. R=วัดจากจุดศูนย์กลางทรงกลม

5. ศักย์ไฟฟ้า

6. ไฟฟ้าสถิตมี2ประจุ

6.1. 1.ประจุบวก 1.602×10−19มวล 1.76 X 10-27kg

6.2. 2.ประจุลบ1.602×10−19 มวล9.11 X 10-31kg

7. สภาพไฟฟ้า

7.1. 1.เป็นกลางทางไฟฟ้า

7.2. 2.เป็นลบ(สูญเสียประจุบวก)

7.3. 3เป็นบวก(สูญเสียประจุลบ)

8. งานทางไฟฟ้า

8.1. ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุดใดๆ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุดใดๆ หมายถึง "งานต่อหนึ่งหน่วยประจุ ในการเคลื่อนประจุระหว่างจุดทั้งสอง" VB - VA = WAB / Q A ๐------------------------------๐ B ถ้า Q เป็นประจุบวก จะพบว่า W เป็น + เมื่อศักย์ที่ B สูงกว่าที่ A (ได้งาน) W เป็น - เมื่อศักย์ที่ B ต่ำกว่าที่ A (เสียงาน) W เป็น ศูนย์ เมื่อศักย์ที่ B เท่ากับศักย์ที่ A (ไม่มีงาน) V = W / Q W = QV

9. ศักย์ไฟฟ้าทรงกลมตัวนำ

9.1. สูตรv=kq/r