ไฟฟ้าสถิต

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ไฟฟ้าสถิต by Mind Map: ไฟฟ้าสถิต

1. สภาพไฟฟ้า

1.1. เป็นกลางทางไฟฟ้า

1.2. เป็นลบ (สูญเสียประจุบวก)

1.3. เป็นบวก (สูญเสียประจุลบ)

2. เเรงไฟฟ้า/ เเรงคูลอมบ์

2.1. เเรงดูด ➡️ ประจุต่างชนิดกัน

2.2. เเรงผลัก ➡️ ประจุเหมือนกัน

3. กฎของคูลอมบ์

3.1. K = ค่าคงตัวของคูลอมบ์

3.2. Q1 = ประจุตัวที่1 หน่วย C

3.3. Q2 =ประจุตัวที่2 หน่วย C

3.4. R = ระยะห่างระหว่างประจุ หน่วย m

4. สนามไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

4.1. กำหนดให้ทรงกลมตัวนำมีประจุ +Q

4.2. ประจุ+Q กระจายอยู่บนผิวนอก เท่านั้น

5. พลังงานศักย์ไฟฟ้า

5.1. พลังงานที่สะสมอยู่ในประจุไฟฟ้า ;ประจุอยู่ในสนามไฟฟ้าหน่วย(จูล) J

6. เเรงหว่างประจุ(F)

6.1. เเรงที่กระทำระหว่างประจุไฟฟ้า เนื่องมาจากอำนาจไฟฟ้า

7. พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ

7.1. C=Q/V

7.1.1. V=ความต่างศักย์ไฟฟ้า หน่วยV

7.1.2. C=ความจุไฟฟ้า หน่วยF

7.1.3. Q=ประจุไฟฟ้า หน่วยC

8. ประจุไฟฟ้า

8.1. ประจุบวก

8.2. ประจุลบ

9. สนามไฟฟ้า(E) : บริเวณที่มีเเรงไฟฟ้า

9.1. F#0 ; มีสนามไฟฟ้า

9.2. F =0 ; ไม่มีสนามไฟไฟ้า

9.3. E =F/q หน่วยN/C

9.3.1. q=ประจุทดสอบสนามไฟฟ้า

9.3.2. Q= ประจุที่ปล่อยสนามไฟฟ้า

10. สนามไฟฟ้าจากเเผ่นตัวนำคู่ขนาน

10.1. เกิดสนามไฟฟ้าเฉพาะด้านในของเเผ่นโลหะ

10.1.1. ที่มีประจุไฟฟ้าบนเเต่ละเเผ่นเป็น+Q เเละ -Q

10.1.2. จะมีค่าคงที่มีทิศพุ่งจาก+Q ไป-Q

10.2. E=🔺️V/d หน่วย v/m

10.2.1. E= ความเข้มของสนามไฟฟ้า N/C , V/m

10.2.2. V= ความต่างศักย์ระหว่างเเผ่นโลหะ(V)

10.2.3. d=ระยะระหว่างเเผ่นโลหะ (m)

10.3. ศักย์ไฟฟ้า

10.3.1. V=kQ/R

10.3.1.1. *คิดเครื่องหมายของประจุไฟฟ้า

10.3.1.2. *ปิดจุดที่สนใจคิดศักย์รอบจุดนั้น

10.3.1.3. หน่วย V เป็นปริมาณScalar

10.3.2. พลังงานศักย์ต่อหนึ่งประจุ

10.4. * E มีหน่วย N/C

10.5. * E=มีหน่วย V/m

10.6. สนามไฟฟ้ามีขนาดคงที่

10.6.1. (เส้นสมศักย์ =เส้นที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน)

11. ศักย์ไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

11.1. V ในวงกลมเท่ากันเเละเท่ากับที่ผิวของตัวนั้น

11.2. V=kQ/r

12. ตัวเก็บประจุ&ความจุ

12.1. ต่อเเบบอนุกรม

12.1.1. Q รวม=Q1=Q2=Q3

12.1.2. Vรวม=V1+V2+V3

12.1.3. 1/C รวม=C1+C2+C3

12.2. ต่อเเบบขนาน

12.2.1. Qรวม=Q1+Q2+Q3

12.2.2. Vรวม=V1=V2=V3

12.2.3. Cรวม=C1+C2+C3

12.3. ตัวเก็บประจุ

12.3.1. ตัวนำที่ทำหน้าที่เก็บประจุไฟฟ้ามีเเผ่นโลหะ& ฉนวนตรงกลาง dielectric

12.3.1.1. C=r/K

12.3.1.2. C=Q/V

12.4. ความจุ

12.4.1. ความสามารถในการเก็บประจุ

13. งานในการเคลื่อนประจุ

13.1. W 1➡️2 =q (V2-V1)

13.1.1. W= 1➡️2 งานในการเคลื่อนประจุจาก จุด 1➡️ จุด2

13.1.2. q= ประจุที่ต้องการการเคลื่อน (c)

13.1.3. V1,V2 = ศักย์ไฟฟ้าที่จุด1เเละ2