โครงสร้างและหน้าที่ของใบ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ by Mind Map: โครงสร้างและหน้าที่ของใบ

1. -

2. -

3. -

4. ใบ (Leaf) คือส่วนที่เจริญออกมาจากลำต้นทางด้านข้างของลำต้น เพื่อทำหน้าที่เป็นแหล่งสร้างมักมีตาอยู่ในซอกใบ หรือซอกมุมระหว่างใบกับกิ่ง หรือใบกับลำต้น

4.1. โครงสร้างของใบ

4.2. หน้าที่ของใบ

4.3. ชนิดของใบ

4.3.1. ใบแบ่งออกเป็น 2 ชนิด

4.3.1.1.   1.   ใบแท้ (Foliage leaf) คือใบไม้ปกติทั่วๆ ไป มีสีเขียวและแผ่นเป็นแผ่นกว้างแบนเพื่อทำหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง หายใจ และคายน้ำ แบ่งออกเป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือ ใบเดี่ยว และใบประกอบ           1.1ใบเดี่ยว (simple leaf) ใบที่มีตัวใบแผ่นเดียว เช่น ใบน้อยหน่า มะม่วง ชมพู่ พืชบางชนิดตัวใบเว้า โค้งไปมา จึงทำให้ดูคล้ายมีตัวใบหลายแผ่นแต่บางส่วนของตัวใบยังเชื่อมกันอยู่ถือว่าเป็นใบเดี่ยว เช่น ใบมะละกอ ใบฟักทอง ตัวใบมักติดกับก้านใบ ถ้าใบที่ไม่มีก้านใบเรียก sessile leaves เช่น บานชื่น         1.2ใบประกอบ (compound leaf) ใบที่มีตัวใบหลายแผ่นติดอยู่กับก้านใบเดียว เช่น ขี้เหล็ก ใบจามจุรี ใบย่อย เรียกว่า leaflets ใบประกอบจะมีตาที่ซอกใบที่ติดกับลำต้นเท่านั้น (แต่ส่วนที่เป็นก้านใบย่อยจะไม่พบตา) ไป  

4.3.1.1.1. หน้าใบ

4.3.1.2.     2.  ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)  พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทำหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 2.1 มือเกาะ (leaf tendril) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อยึดและพยุงลำต้นให้ไต่ขึ้นที่สูงได้ เช่น ถั่วลันเตา มะระ ตำลึง เป็นต้น โดยอาจเปลี่ยนแปลงมาจากทั้งใบหรือส่วนต่าง ๆ ของใบ เช่น หูใบ ก้านใบ ปลายใบ หรือใบย่อย  2.2 หนาม (Leaf spine)  เป็นใบที่เปลี่ยนเป็นหนาม เพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์ที่จะมากัดกิน และช่วยลดการคายน้ำอีกด้วย เช่น มะขามเทศ กระบองเพชร ป่านศรนารายณ์ สับปะรด 2.3 ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่สะสมอาหารและน้ำ จึงมีลักษณะอวบอ้วนเนื่องจากสะสมน้ำและอาหารไว้มาก เช่น ใบเลี้ยงของพืชต่างๆ ใบว่านหางจระเข้ กาบกล้วย 2.4  ใบเกล็ด (Scale leaf)  มีลักษณะเป็นเกล็ดเล็กๆ ไม่มีคลอโรฟิลล์ เช่น ใบเกล็ดของสนทะเล โปร่งฟ้า ขิง ข่า เผือก แห้ว เป็นต้น 2.5  เกล็ดหุ้มตา (Bud scale)  มีลักษณะเป็นแผ่นหุ้มตาไว้ เมื่อตาเจริญเติบโตก็จะดันให้เกล็ดหุ้มตากางออกหรือหลุดร่วงไป เช่น ในต้นสาเก จำปี และยาง เป็นต้น 2.6  ฟิลโลด (Phyllode) หรือ Phyllodium (Gr. phyllon = ใบ) เป็นส่วนต่างๆ ของใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นแผ่นแบนคล้ายตัวใบ พืชที่มีใบแบบนี้มักจะไม่มีใบที่แท้จริง เช่น ใบกระถินณรงค์เปลี่ยนแปลงมาจากก้านใบ   2.7  ทุ่นลอย (Floating leaf)  พืชน้ำบางชนิด เช่น ผักตบชวา จะมีก้านใบที่พองออก ภายในมีช่องว่างให้อากาศแทรกอยู่มาก จึงช่วยพยุงลำต้นทำให้สามารถลอยน้ำได้ 2.8  ใบประดับหรือใบดอก (Floral leaf หรือ Bract: L. bractea = แผ่นโลหะ)  เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทำหน้าที่ช่วยรองรับดอก มักมีสีเขียว แต่พืชหลายชนิดมีใบประดับเป็นสีอื่นๆ คล้ายกลีบดอก เพื่อช่วยล่อแมลงสำหรับผสมเกสร เช่น เฟื่องฟ้า คริสต์มาส หน้าวัว เป็นต้น 2.9  ใบสืบพันธุ์ (Vegetative reproductive leaf)  เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อช่วยในการแพร่พันธุ์ เช่น ใบคว่ำตายหงาย 2.10 กับดักแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่ดักจับแมลงหรือสัตว์เล็กๆ  โดยมีการสร้างเอนไซม์สำหรับย่อยแล้วดูดซึมแร่ธาตุไปใช้ประโยชน์ ตัวอย่างเช่น หยาดน้ำค้าง กาบหอยแครง และหม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นต้น

4.3.1.2.1. -

4.3.1.2.2. -