ของไหล
by ชิษณุพงศ์ เพลงอินทร์
1. แรงที่ของเหลวกระทำต่อผนัง F=P x A
1.1. 1.แรงดันที่ก้นภาชนะ
1.1.1. ติด Pa : F =pvg+PaA
1.1.2. ไม่ติด Pa : F = pvg
1.2. 2.แรงดันที่ข้างภาชนะ
1.2.1. ติด Pa : F =pvglhยกกำลัง2 /2 + PaA
1.2.2. ไม่ติด Pa : F =pvglhยกกำลัง2 /2
2. แรงดันเขื่อน
2.1. F = pgLhยกกำลัง2/2
3. กฏของพาสคัล
3.1. เมื่อเพิ่มความดันในของเหลวที่อยู่นิ่งในภาชนะปิดความดันที่เพิ่มจะถูกถ่ายทอดไปยังทุกๆตำแหน่งในของเหลวรวมถึงผนังของภาชนะนั้นด้วย F/a = W/A
4. ความตึงผิว
4.1. คือ อัตราส่วนระหว่างแรงดึงผิวของของเหลวกับความยาวของสันนิวของของเหลว r = F/a
5. พงศาสตร์ของของไหล
5.1. สมการความต่อเนื่อง = A1V1 =A2V2 อัตราการไหล Q=AV สมการแบร์นูลี P +1/2pvยกกำลัง2+ pgh =k
5.2. ประยุกต์สมการแบร์นูลลี : V =รูทสอง2gH แรงยกปักเครื่องบิน : F =1/2 p(v2ยกกำลังสอง - V1ยกกำลังสอง)A
6. ความหนาแน่น(P) คือปริมาณบางสารในหนึ่งหน่วยปริมาตร(Kg/m)
6.1. ความหนาแน่นสัมพัทธ์ คือ อัตราส่วนระหว่างความหนาแน่นของสารนั้นกับความหนาแน่นของสารอ้างอิง
7. ความดันในของเหลว P=m/v
7.1. ความดันในของเหลว คือ ความดันที่เกิดจากเทลงกดทับ ซึ่งอยู่ใต้ระดับน้ำเป็นระยะทางหนึ่ง P=pgh
7.2. ความดันและแรงดัน คือขนาดของแรงที่กระทำบนพื้นที่ 1 ตารางหน่วย มีหน่วยเป็น N/m2เป็นสเกลาร์
7.3. ความดันสัมบูรณ์(P) คือผลรวมของความดัน บรรยาศ(P๐)กับความดันเนื่องจากน้ำหนักของเหลว(Pw) P=Po+Pw
7.4. ความดันเกจ (Pw=pgh) คือ ความดันที่เกิดขึ้นเนื่องจากน้ำหนักของเหลวนั้น โดยไม่รวมกับความดันบรรยากาศ
8. หลักของอาร์คีมีดิส
8.1. คือวัตถุที่จมในของเหลวลงหมดทั้้งก้อนหรือจมเบียวบางส่วนจะถูกแรงพยุงกระทำและแรงพยุงจะเท่ากับน้ำหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่ สูตร mg=pเหลว Vจม g F = pเหลว Vจม g
9. ความหนืด
9.1. คือ สัมประสิทธิ์ของแรงหนืดของของเหลว F = 6พายyrv