ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1. อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.1. โมเด็ม (Modem)

1.1.1. ทำหน้าที่ในการแปลงสัญญาณจากดิจิตอล (Digital)ให้เป็นสัญญาณอนาล็อก (Analog)

1.2. การ์ดเครือข่าย (Network Adapter)

1.2.1. ทำหน้าที่สื่อสารระหว่างเครื่องต่างกันได้ไม่จำเป็นต้องเป็นรุ่นหรือยี่ห้อเดียวกัน

1.3. ฮับ (HUB)

1.3.1. ช่วยกระจ่ายสัญญาณไปยังเครื่องต่างๆที่อยู่ในระบบ

1.4. สวิตช์ (Switch)

1.4.1. ทำหน้าที่กระจายช่องทางการสื่อสารข้อมูลหลายช่องทางในระบบเครือข่าย คล้ายกับ Hub

1.5. รีพีเตอร์ (Repeater)

1.5.1. อุปกรณ์ทวนสัญญาณเพื่อให้สามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ระยะไกลขึ้น

1.6. เราเตอร์ (Router)

1.6.1. ทำหน้าที่หาเส้นทางที่เหมาะสมเพิื่อให้การส่งข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

1.7. บริคจ์ (Bridge)

1.7.1. อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับเครือข่ายหลายๆ กลุ่มที่เขื่อมต่อกันเนื่องจากสามารถแบ่งเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันหลายๆ เซ็กเมนต์แยกออกจากกันได้

1.8. เกตเวย์ (Gateway)

1.8.1. ช่วยทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่าย หรือมากกว่าที่มีลักษณธไม่เหมือนกัน

1.9. แอร์คาร์ดAirCard

1.9.1. เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ Desktop (เดสทอป) หรือ Laptop(แลบทอป) ของเราเข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายความเร็วสูงโดยผ่านโครงข่ายสัญญาณโทรศัพท์มือถือ

1.10. จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย

1.10.1. ระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีรูปแบบในการสื่อสารแบบไม่ใช้สาย

2. ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์

2.1. ตัวกลางแบบมีสาย

2.1.1. สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair: TP)

2.1.1.1. สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือยูทีพี (Unshielded Twisted Pair: UTP)

2.1.1.1.1. สายคู่บิดเกลียวที่ไม่มีลวดถักชั้นนอก

2.1.1.2. สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวนหรือเอสทีพี (Shielded Twisted Pair: STP)

2.1.1.2.1. สายคู่ บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอกอีกชั้น

2.1.2. สายโคแอกซ์หรือสายแกนร่วม (coaxial cable)

2.1.2.1. สายสัญญาณที่มีสายทองแดงเดี่ยวมีแกนกลางหุ้มด้วย ฉนวนเพื่อป้องกันไฟรั่ว

2.1.3. สายไฟเบอร์ออปติกหรือเคเบิลเส้นใยนำแสง (fiber optic cable)

2.1.3.1. ทำจากแก้วหรือพลาสติกที่มีความ บริสุทธิ์สูง ใช้แสงในการสื่อสารข้อมูลท าให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้

2.2. ตัวกลางแบบไร้สาย

2.2.1. คลื่นวิทยุ (Radio Wave)

2.2.1.1. การส่งคลื่นไปในอากาศ เพื่อส่งไปยังเครื่องรับวิทยุโดยรวมกับคลื่นเสียงมีความถี่เสียงที่เป็นรูป แบบของคลื่นไฟฟ้า

2.2.2. สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave)

2.2.2.1. การสื่อสารที่มีความเร็วสูง ส่งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งเป็นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่ง

2.2.3. แสงอินฟราเรด (Infrared)

2.2.3.1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 1011 – 1014 เฮิรตซ์ หรือความยาวคลื่น 10-3 – 10-6 เมตร

2.2.4. ดาวเทียม (satilite)

2.2.4.1. ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก

3. ความหมายและชนิดของเครื่อข่ายของคอมพิวเตอร์

3.1. ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

3.1.1. Personal Area Network (PAN)

3.1.1.1. เครือข่ายส่วนบุคคล

3.1.1.2. ระยะทางการเชื่อมต่อไม่เกิน 5 เมตร

3.1.1.3. เชื่อมต่อแบบไร้สาย

3.1.2. Local Area Network (LAN)

3.1.2.1. เครือข่ายท้องถิ่น

3.1.2.2. ระยะทางการเชื่อมต่อไม่เกิน 10 กิโลเมตร

3.1.2.3. นิยมใช้ในองค์กร, สำนักงาน

3.1.3. Metropolitan Area Network (MAN)

3.1.3.1. เครือข่ายขนาดใหญ่

3.1.3.2. ระยะทางการเชื่อมต่อประมาณ 50 กิโลเมตร

3.1.3.3. อาจเกิดจากการเชื่อมต่อของ LAN หลายเครือข่าย

3.1.4. Wide Area Network (WAN)

3.1.4.1. เครือข่ายขนาดใหญ่ มาก

3.1.4.2. เครือข่ายประกอบด้วย LAN และ MAN

3.1.4.3. ครอบคลุมทั้งประเทศ หรือทั่วโลก แบ่งเป็น Private และ Public

4. ความหมายและองค์ประกอบของระบบเครือข่าย

4.1. การสื่อสารข้อมลู

4.1.1. ทิศทางในการสื่อสาร

4.1.1.1. 1.การสื่อสารทิศทางเดียว

4.1.1.1.1. เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้เช่น การกระจายเสียงจากสถานีวิทยุ เป็นต้น

4.1.1.2. 2.การสื่อสารสองทิศทางสลับกัน

4.1.1.2.1. เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะไม่สามารถส่งพร้อมกันได้เช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด

4.1.1.3. 3.การสื่อสารสองทิศทางพร้อมกัน

4.1.1.3.1. เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทาง ในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบโทรศัพท์

4.1.2. องค์ประกอบของการสื่อสาร

4.1.2.1. 1ผู้ส่งสาร ทำหน้าที่เป็นผู้ส่งข้อมลูไปยังผู้รับ

4.1.2.1.1. เช่น สุนัขเห่าเมื่อเห็นคนแปลกหน้า (ผู้ส่งสาร คือ สุนัข)

4.1.2.2. 2.ผู้รับสาร ทำหน้าที่เป็นผู้รับข้อมลูจากผู้ส่งสาร

4.1.2.2.1. เช่น น้ำหวานชี้นกให้น้ำผึ้งดู (ผู้รับสาร คือ น้ำผึ้ง)

4.1.2.3. 3.ข้อมลู สิ่งที่ผู็ส่งสารต้องการส่งให้ผู้รับสาร

4.1.2.3.1. ข้อความ กลิ่น ภาพเคลื่อนไหว

4.1.2.4. 4.ตัวกลางหรือสื่อนำข้อมลู

4.1.2.4.1. หน้าที่เป็นตัวกลางในการนำเสนอข้อมลู

4.1.2.5. 5.โพรโทคอล

4.1.2.5.1. ข้อตกลงหรือวิธีการสื่อสารของมนุษย์ในชีวิตประจำวัน