พระยากัลยาณไมตรี (ดร.ฟรานซิส บี.แซร์)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พระยากัลยาณไมตรี (ดร.ฟรานซิส บี.แซร์) by Mind Map: พระยากัลยาณไมตรี                         (ดร.ฟรานซิส บี.แซร์)

1. นายอัจฉริยะวิทย์ ตุรงค์สมบูรณ์ ม6/1 เลขที่15 น้าคร้าบบบบบบบบบบบบบ

2. อ้างอิง http://personinhistory.exteen.com/page-6 , https://www.youtube.com/watch?v=G_KVJrR2dKc

3. พระยากัลยาณไมตรี ยังได้ไปเจรจาในการขอแก้ไขสัญญาที่ไม่เท่าเทียมกัน ระหว่างประเทศสยามกับประเทศต่างๆ โดยเดินทางไปยังประเทศเหล่านั้นเพื่อเจรจาโดยตรง ฟันฝ่าอุปสรรถมากมายจนได้ข้อสรุปกับ ๑๑ ประเทศ เป็นการยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต รวมทั้งยกเลิกข้อกำหนดซึ่งจำกัดอัตราภาษีสินค้าขาเข้า ซึ่งได้ทำให้ประเทศสยามมีอำนาจอธิปไตยทางเศรษฐกิจที่ไม่สมบูรณ์ในบรรดา ๑๑ ประเทศนั้น ๖ ประเทศ ดำเนินการแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลที่ ๖ และอีก ๕ ประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ ๗

4. วิดิโอ

5. วิดิโอ

6. พระราชประวัติ

6.1. ในปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ดร. ฟรานซิส บี. แซร์ (Dr. Francis Bowes Sayre) ก็ได้เข้ามารับราชการในเมืองไทย เป็นที่ปรึกษาการต่างประเทศ

6.2. ประวัติ

6.2.1. พระยากัลยาณไมตรี ดร. ฟรานซิส บี.แซร์ เป็นชาวอเมริกา

6.2.2. บุตรของนายโรเบิรต์ และนางมาร์ธา ฟินเล่ย์ เนวิน

6.3. การสมรส

6.3.1. ได้สมรสกับนางสาวเจสซี วูดโรว์ วิลสัน หลังจากภรรยาคนแรกถึงแก่กรรม ก็ได้สมรสอีกครั้งกับนางเอลิซาเบธ อีแวนส์ เกรฟส์

6.4. การศึกษา

6.4.1. จบการศึกษาจากวิทยาลัยวิลเลียมส์  ในปี พ.ศ. ๒๔๕๒

6.4.2. ปริญญานิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ในปี พ.ศ. ๒๔๕๕

6.4.3. ปริญญานิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ในปี พ.ศ. ๒๔๖๑

6.5. ประสบการณ์การทำงาน

6.5.1. เป็นผู้ช่วยอธิการบดีวิทยาลัยวิลเลียมส์ (Williams College) ในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ – ๒๔๖๐

6.5.2. เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัย Princeton ในปี พ.ศ. ๒๔๕๖ – ๒๔๖๔

6.5.3. เป็นอาจารย์วิชาการปกครอง ในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ – ๒๔๖๖

6.5.4. เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์และศาสตราจารย์ในวิชากฎหมาย

6.6. เกิดทางตอนใต้ของเมืองเซาท์เบทเลเฮม เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๒๘

7. การเข้ามาเมืองไทยของพระยากัลยาณไมตรี

7.1. ขณะนั้นเมืองไทยกำลังมุ่งที่จะขอแก้ไขสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีที่ประเทศไทยเคยทำไว้กับนานาประเทศ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับอำนาจศาล การภาษีอากร ซึ่งประเทศไทยเป็นฝ่ายเสียเปรียบอยู่ จนสามารถดำเนินการแก้ไขสนธิสัญญาสำเร็จกับ ประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศฮอล์แลนด์ ประเทศเบลเยี่ยม ประเทศเดนมาร์ก ประเทศนอร์เวย์ ประเทศสวีเดน ประเทศสเปน และประเทศโปรตุเกสได้สำเร็จ

8. ผลงานที่สำคัญ

8.1. พระยากัลยาณไมตรี ก็มีส่วนช่วยในการร่างรัฐธรรมนูญด้วย โดยรัฐธรรมนูญที่พระยากัลยาณไมตรี ร่างนั้นมีเพียง ๑๒ มาตรา

8.1.1. มาตรา ๑ ว่าด้วยการยืนยันว่าพระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งอำนาจสูงสุดในราชอาณาจักร

8.1.2. มาตรา ๒ - มาตรา ๖ กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งและถอดถอนนายกรัฐมนตรีซึ่งบริหารราชการแผ่นดินโดยรับผิดชอบต่อพระมหากษัตริย์ โดยให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งรัฐมนตรีและถอดถอนรัฐมนตรี ซึ่งรับผิดชอบในการบริหารกระทรวงต่อนายกรัฐมนตรี เมื่อคณะรัฐมนตรีประชุมปรึกษากันแล้ว นายกรัฐมนตรีต้องนำข้อราชการสำคัญขึ้นกราบบังคมทูล เพื่อขอพระบรมราชวินิจฉัย

8.1.3. มาตรา ๗ กำหนดการแต่งตั้งคณะอภิรัฐมนตรีให้มีอำนาจหน้าที่ถวายคำปรึกษา

8.1.4. มาตรา ๘ สภาองคมนตรี

8.1.5. มาตรา ๙ กำหนดตำแหน่งรัชทายาท

8.1.6. มาตรา ๑๐ กำหนดเรื่องศาลฎีกาและศาลต่างๆ ภายใต้พระราชอำนาจ

8.1.7. มาตรา ๑๑ กำหนดให้อำนาจนิติบัญญัติเป็นของพระมหากษัตริย์

8.1.8. มาตรา ๑๒ กำหนดให้สภาองคมนตรีโดยคะแนนเสียง ๓ ใน ๔ ถวายคำแนะนำให้แก้รัฐธรรมนูญได้