พระราชกรณียกิจที่มีส่วนต่อการสร้างสรรค์ชาติไทย ของรัชกาลที่ ๗

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พระราชกรณียกิจที่มีส่วนต่อการสร้างสรรค์ชาติไทย ของรัชกาลที่ ๗ by Mind Map: พระราชกรณียกิจที่มีส่วนต่อการสร้างสรรค์ชาติไทย             ของรัชกาลที่ ๗

1. ด้านการทำนุบำรุงบ้านเมือง

1.1. ด้านการสื่อสารและคมนาคม

1.1.1. อัญเชิญพระกระเเสพระราชดำรัสของพระองค์จากพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระบรมมหาราชวัง ถ่ายทอดเสียงทอดวิทยุ เป็นครั้งแรกของประเทศไทย

1.2. เศรษฐกิจ

1.2.1. แก้ปัญหาเศรษฐกิจด้วยวิธีต่างๆ

1.2.1.1. การควบคุมงบประมาณ

1.2.1.2. ตัดทอนรายจ่าย

1.2.1.3. ลดอัตราเงินเดือนข้าราชการ

1.2.1.4. งดจำนวนข้าราชการปรับปรุงระบบภาษี

1.2.1.5. การเก็บภาษีเพิ่มเติม

1.2.1.6. เลิกมาตราฐานทองคำเปลี่ยนไปผูกกับค่าเงินอังกฤษ

1.2.1.7. ส่งเสริมกิจการสหกรณ์ใศรษฐกิจให้ประชาชนได้มีโอกาสร่วมกันประกอบการทางเศรษฐกิจ

1.3. การสุขาภิบาลและสาธารณูปโภค

1.3.1. ปรับปรุงงานสุขาภิบาลทั่วราชอาณาจักรให้ทัดเทียมอารยะประเทศ

2. สุขาภิบาล

3. ด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ

3.1. ในต้นรัชสมัยได้ทรงดำเนินกิจการสำคัญที่ทรงเกี่ยวข้องกับต่างประเทศที่ค้างมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวให้สำเร็จลุล่วงไป เช่น การให้สัตยาบันสนธิสัญญาต่าง ๆ

3.2. ทรงทำสัญญาใหม่ ๆ กับประเทศเยอรมนีหลังสถาปนาความสัมพันธ์ขั้นปกติ เมื่อ พ.ศ. 2471

3.3. ทำสนธิสัญญากับประเทศฝรั่งเศสเกี่ยวกับดินแดนในลุ่มแม่น้ำโขง เรียกว่าสนธิสัญญาอินโดจีน พ.ศ. 2469

3.3.1. กำหนดให้ มีเขตปลอดทหาร 25 กิโลเมตร ทั้งสองฝั่งของแม่น้ำโขงแทนที่จะมีเฉพาะฝั่งสยามแต่เพียงฝ่ายเดียว

4. รัชกาลที่ 7

5. ด้านการปกครอง

5.1. ด้านการปกครอง

5.1.1. มีพระราชดำริให้จัดระเบียบการปกครองรูปแบบเทศบาล

5.1.2. โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติเทศบาล ขึ้น

5.1.2.1. แต่มิได้เป็นไปตามพระราชประสงค์เนื่องจากเกิดการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

5.1.3. เกิดเหตุการณ์ปฏิวัติโดยคณะราษฎร ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยพระองค์ทรงยินยอมสละพระราชอำนาจและเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ทรงให้ตรวจตราตัวบทกฎหมายรัฐธรรมนูญที่จะเป็นหลักในการปกครองอย่างถี่ถ้วน

5.1.4. จัดตั้งเมืองจำลองประชาธิปไตยชื่อ ดุสิตธานี

5.1.5. ทรงแก้ไขกฎหมายองคมนตรี ด้วยการออกพระราชบัญญัติองคมนตรี เมื่อปี พ.ศ. 2470

5.1.5.1. โดยให้สภากรรมการองคมนตรีมีอำนาจหน้าที่ในการให้คำปรึกษาในการร่างกฎหมาย

5.1.6. ทรงตราพระราชบัญญัติควบคุมการค้าขายอันกระทบถึงความปลอดภัยหรือความผาสุกแห่งสาธารณชน พ.ศ. 2471

5.1.6.1. คุ้มครองสวัสดิการของปวงชนชาวไทย โดยมีขอบเขตครอบคลุมการค้าขายที่เป็นสาธารณูปโภคและการเงิน

5.1.7. มีพระราชดำริให้สภาองคมนตรีเป็นที่ฝึกการประชุมแบบรัฐสภา กรรมการสภาองคมนตรีอยู่ในตำแหน่งวาระละ 3 ปี

6. ด้านการศึกษา ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรม

6.1. ด้านการศึกษา

6.1.1. ส่งเสริมการศึกษาของชาติ

6.1.2. โปรดให้สร้างหอพระสมุดสำหรับพระนคร

6.1.3. ทรงตั้งราชบัณฑิตยสภา

6.1.3.1. บริหารและเผยแพร่ด้านวิชาการวรรณคดีโบราณและศิลปกรรม

6.1.4. พระราชทานเงินส่วนพระองค์เป็นรางวัลแก่ผู้แต่งหนังสือยอดเยี่ยม

6.1.5. ให้ทุนนักเรียนไปศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์จากต่างประเทศ

6.2. ด้านศาสนา

6.2.1. ทรงปลูกฝังเยาวชนให้มีคุณธรรมดีงามโดยยึดหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า

6.3. ด้านประเพณีและวัฒนธรรม

6.3.1. จัดการบำรุงรักษาวิชาช่างซึ่่งเป็นผลดีต่อการอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรม

6.3.2. ทรงพยายามสร้างค่านิยมให้มีสามีภรรยาเพียงคนเดียว โปรดให้ตราพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายลักษณะผัวเมีย พ.ศ. 2473

6.3.3. ริเริ่มให้มีการจดทะเบียนสมรส ทะเบียนหย่า ทะเบียนรับรองบุตร อันเป็นการปลูกฝังค่านิยมแบบใหม่ทีละน้อยตามความสมัครใจ นอกจากนี้ยังทรงปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างโดยทรงมีแต่พระบรมราชินีเพียงพระองค์เดียว