1. ด้านการคมนาคม
1.1. ทรงปรับปรุงและขยายงานกิจการรถไฟ
1.2. ทรงเปิดเดินรถด่วนระหว่างประเทศ สายใต้ติดต่อกับรถไฟมลายู (มาเลเซีย)
1.3. เริ่มเปิดกิจการเดินรถไฟสายกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม่
1.4. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานพระราม ๖
1.4.1. เชื่อมทางรถไฟทั้งปวงในพระราชอาณาจักรโดยโยงเข้ามาสู่ศูนย์กลางที่สถานีหัวลำโพง
1.4.2. สร้างข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
1.5. ทรงจัดตั้งกรมอากาศยาน
1.6. เริ่มการขนส่งไปรษณียภัณฑ์ทางอากาศ
1.6.1. จากกรุงเทพฯ ไปยังนครราชสีมา
1.6.2. เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2463
2. ด้านเศรษฐกิจ
2.1. จัดตั้งธนาคารออมสินขึ้น
2.1.1. เพื่อให้ประชาชนรู้จักออมทรัพย์
2.2. ใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ซื้อหุ้น
2.2.1. ของธนาคารสยามกัมมาจล ทุนจำกัด(ธนาคารไทยพาณิชย์)
2.3. ทรงริเริ่มตั้ง บริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด
2.3.1. ซึ่งได้เป็นกิจการอุตสาหกรรมสำคัญของไทยต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน
2.4. ทรงจัดตั้งสภาเผยแผ่พาณิชย์
2.4.1. ซึ่งเป็นหน่วยงานคล้ายกับสภาพัฒนาการเศรษฐกิจในปัจจุบัน
3. ด้านการต่างประเทศ
3.1. ทรงมีพระบรมราชโองการประกาศสงครามกับประเทศฝ่ายเยอรมัน
3.1.1. ในสงครามโลกครั้งที่ 1
3.1.2. วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460
3.1.3. โดยได้เข้าร่วมกับประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งประกอบด้วยประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซียเป็นผู้นำ
3.2. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ส่งทหารไทยอาสาสมัครไปร่วมรบในสมรภูมิยุโรปด้วย
3.3. ผลของสงครามประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรได้ชัยชนะ
3.3.1. ทำให้ประเทศไทยมีโอกาสเจรจากับประเทศมหาอำนาจหลายประเทศ
3.3.2. แก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
3.3.2.1. สนธิสัญญาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
3.3.2.2. สนธิสัญญาจำกัดอำนาจการเก็บภาษีของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
3.3.2.3. สนธิสัญญาจำกัดอำนาจกลางประเทศไทย
4. ด้านจิตรกรรม
4.1. ทรงส่งเสริมการวาดภาพฝาผนัง
4.2. ทรงให้ทดลองเขียนภาพเทพชุมนุม
4.2.1. ก่อนที่จะนำไปวาดที่ฝาผนังพระวิหารทิศ วัดพระปฐมเจดีย์
4.2.1.1. ส่งไปพิมพ์ในหนังสือดุสิตสมิต
4.3. ทรงพระกรุณาให้หาผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศด้านจิตรกรรมและประติมากรรมเข้าเฝ้า
4.3.1. ท่านศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี
4.3.2. เพื่อส่งเสริมให้ศิลปินไทยได้เรียนรู้ศิลปะสากลขึ้น
4.3.3. เพื่อส่งผลต่อการพัฒนาแนวคิดสร้างสรรค์ทางด้านศิลปะไทย
4.4. พระองค์สนพระทัยในการวาดภาพล้อ
4.4.1. ทรงวาดภาพล้อไว้หลายชุด
4.4.1.1. ภาพล้อเหล่านี้ถ้าเป็นภาพล้อผู้ใด ผู้นั้นก็จะซื้อในราคาสูง
4.4.1.2. เงินค่าภาพล้อจะพระราชานไปใช้ในกิจการกุศลทั้งสิ้น
5. ด้านกิจกรรมเสือป่าและลูกแสือ
5.1. ทรงจัดตั้งกองลูกเสือกองแรก
5.1.1. ที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง
5.1.2. ด้านการฝึกสอนระบอบประชาธิปไตย
5.1.3. วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2454
5.2. ทรงทดลองตั้ง"เมืองมัง"
5.2.1. จัดตั้งให้มีระบอบการปกครองของตนเองตามวิถีทางประชาธิปไตย
5.2.2. ตั้งอยู่หลังพระตำหนักจิตรลดาเดิม
5.3. ทรงสร้างเมืองจำลอง" ดุสิตธานี"
5.3.1. เป็นเมืองที่มีพรรคการเมือง
5.3.2. มีการเลือกตั้ง
5.3.3. มีการบริหารตามระบอบประชาธิปไตย
6. ด้านการแพทย์
6.1. พ.ศ.2455 ทรงสถาปนาปาสตุรสภา
6.1.1. เพื่อบำบัดโรคกลัวน้ำ
6.1.2. ตั้งวชิรพยาบาล
6.2. พ.ศ.2457 สรัางโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
6.2.1. ใช้เงินทุนส่วนพระองค์เอง
6.2.2. ได้ความช่วยเหลือจากสมาคมอุณาโรมแดง
6.3. พ.ศ.2457 เปลื่ยนชื่อสถานที่จำหน่ายยา
6.3.1. โอสถสภา เป็น สุขศาลา
6.4. พ.ศ.2459 ทรงเปลี่ยนชื่อกรมพยาบาล
6.4.1. เปลี่ยนเป็น กรมประชาภิบาล
6.5. พ.ศ.2460 ตั้งโรงเรียนการแพทย์ทหารบก
6.6. พ.ศ.2461 ทรงดำริว่าการแพทย์และการ สุขาภิบาลยังแยกอยู่ใน 2 กระทรวง
6.6.1. กระทรวงมหาดไทย
6.6.2. กระทรวงนครบาล
7. ด้านการศึกษา
7.1. ทรงริเริ่มสร้างโรงเรียนขึ้นแทนวัดประจำรัชกาล
7.1.1. โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ซึ่งในปัจจุบันคือโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย
7.2. พ.ศ.2440
7.2.1. ทรงสนับสนุนกิจการของโรงเรียนราชวิทยาลัยซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้น (ปัจจุบันคือโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์)
7.3. พ.ศ.2448-2450
7.3.1. พระราชทานนาม โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์
7.3.1.1. เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของเชียงใหม่
7.3.2. พระองค์ทรงสนพระทัยในกิจการโรงเรียนที่จัดตั้งขึ้มาใหม่ทั้งสิ้น
7.3.2.1. พระองค์ทรงบันทึกไว้ในพระราชนิพนธ์ เที่ยวเมืองพระร่วง และลิลิตพายัพ
7.3.3. ก่อตั้งคณะมิชชั่นนารีอเมริกา
7.3.3.1. เป็นเพียงแต่การนำรูปแบบการศึกษาตะวันตกมายังหัวเมืองเหนือเท่านั้น
7.4. พ.ศ.2459
7.4.1. โปรดเกล้าให้ ประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ขึ้นเป็น "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"
7.4.1.1. ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย
7.4.1.2. โรงเรียนข้าราชการพลเรือนเป็นของรัชกาลที่5(พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)
8. ด้านศิลปะวัฒนธรรมไทย
8.1. ทรงตั้งกรมมหรสพ
8.1.1. เพื่อฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมไทย
8.2. ทรงสร้างโรงละครหลวง
8.2.1. เพื่อส่งเสริมการแสดงละครในหมู่ข้าราชบริพาร
8.3. ทรงสนพระราชหฤทัยด้านจิตรกรรมและสถาปัตยกรรม
8.4. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกแบบอาคารสมัยใหม่เป็นแบบทรงไทย
8.4.1. เช่น ตึกอักษรศาสตร์ ซึ่งเป็นอาคารเรียนหลังแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
8.4.2. อาคารโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย
9. ด้านวรรณกรรมและหนังสือ
9.1. ประเภทวรรณคดี เช่น
9.1.1. พระนลคำหลวง
9.1.2. นารายณ์สิบปาง
9.1.3. ศกุนตลา
9.1.4. มัทนะพาทา
9.2. ประเภทบทละคร เช่น
9.2.1. หัวใจนักรบ
9.2.2. พระร่วง
9.2.3. โรมิโอและจูเลียต
9.2.4. ตามใจท่าน
9.3. ประเภทนิทาน เช่น
9.3.1. นิทานทองอิน
9.3.2. นิทานท่าเรือ
9.3.3. นิทานชวนขัน
9.4. ประเภทปลุกชาติ เช่น
9.4.1. เมืองไทยจงตื่นเถิด
9.4.2. ยิวแห่งบูรพาทิศ
9.4.3. ปลุกใจเสือป่า
10. ด้านส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย
10.1. ให้ความเสมอภาค
10.2. ทรงทดลองและฝึกให้ข้าราชบริพารรู้จักการปกครองระบอบประชาธิปไตย
10.2.1. โดยทรงสร้างเมืองจำลอง "ดุสิตธานี" ขึ้น
10.3. ทรงส่งเสริมสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและวิพากษ์วิจารณ์ผ่านสื่อมวลชนที่สำคัญ
10.3.1. ซึ่งในยุคนั้นคือ หนังสือพิมพ์