เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา by Mind Map: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับ ข่าวสาร ข้อมูลและการสื่อสารสารสนเทศกับงานด้านการศึกษา อันได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และประมวลผล ฐานข้อมูล การพัฒนาระบบสารสนเทศช่วยการเรียนการสอน การวางแผนและการบริหารการศึกษา การ วางแผนหลักสูตร การแนะแนวและบริการ การทดสอบวัดผล การพัฒนาบุคลากร ซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อการสื่อสารนั้น จะมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของใช้งาน เช่น บางครั้งอาจจะใช้เทคโนโลยีดาวเทียม เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ระบบ e-Learning หรือเทคโนโลยีอื่นๆ ที่มีความจำเป็นในการพัฒนาการศึกษา

2. นิยามและความหมาย

2.1. ระบบโทรศัพท์

3. ทฤษฎีการเรียนรู้

3.1. กระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยินการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี

3.2. รูปแบบ

3.2.1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)

3.2.1.1. เน้นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulas) และ การตอบสนอง (Response)

3.2.2. ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)

3.2.2.1. ผู้เรียนเป็นผู้สร้าง (Construct) ความรู้จากความเข้าใจที่มีอยู่เดิม

3.2.2.2. การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยมีหลักพื้นฐานว่า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่มักจะออกมาในรูปแบบต่างๆ หลายรูปแบบ โดยการลองถูกลองผิด จนกว่าจะพบรูปแบบที่ดีและเหมาะสมที่สุด

3.2.2.3. ผู้สอนไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียนได้ แต่ผู้สอนสามารถช่วยผู้เรียนปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาได้โดยจัดสภาพการณ์ที่ทำให้เกิดภาวะไม่สมดุลขึ้น

3.2.3. ทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism)

3.2.4. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(Cognitivism)

3.2.4.1. เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมายและความสัมพันธ์ของ ข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทำและการแก้ปัญหาต่างๆ ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทำและสร้างความรู้

4. Visual literacy

4.1. เป็นการเรียนรู้ทางทัศนะ การเรียนรู้ประเภทนี้ใช้ประสาทสัมผัสคือ นัยน์ตาในการมองสิ่งต่างๆเพื่อให้เกิดภาพของสิ่งที่มองดูนั้น เมื่อมีการเรียนรู้ทางทัศนะก็หมายถึง ผู้เรียนจะต้องสามารถแปลความหมายของภาพหรือสร้างสรรค์ภาพเพื่ออธิบายความหมายของสิ่งที่เห็นหรือสิ่งที่ต้องการจะถ่ายทอดได้

4.2. ครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ

4.2.1. การใช้ (Use)

4.2.2. เข้าใจ (Understand)

4.2.3. การสร้าง (create)

4.2.4. เข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4.3. ทำงานได้รวดเร็วลดข้อผิดพลาดและมีความมั่นใจในการทำงานมากขึ้น

4.4. ประโยชน์

4.4.1. สามารถระบุทางเลือกและตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

4.4.2. มีเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้และเติบโตอย่างเหมาะสม

4.4.3. สามารถบริหารจัดการงานและเวลาได้ดีมากขึ้น

5. การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหารจัดการด้านการศึกษาก็มีส่วนช่วยให้การใช้ทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

6. ความสำคัญของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

6.1. เพื่อให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป

6.2. เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาบางอย่างที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ

6.3. เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาในบางเรื่อง เช่น ปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับจำนวนผู้เรียนที่มากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยการผลิตและพัฒนาสื่อใหม่ ๆ ขึ้นมา

6.4. เพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของมนุษย์ให้เพิ่มมากขึ้นด้วยระยะเวลาที่สั้นลง

7. ประเภท

7.1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

7.1.1. ฮาร์ดแวร์

7.1.2. ซอฟต์แวร์

7.2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม

7.2.1. เทคโนโลยีที่ใช้ในระบบโทรคมนาคมทั้งชนิดมีสายและไร้สาย

7.2.2. เคเบิ้ลใยแก้วนำแสง

7.2.3. ดาวเทียม

7.2.4. วิทยุโทรทัศน์

7.3. เทคโนโลยีการสื่อสาร

7.3.1. การสื่อสารทางเดียว

7.3.1.1. การฟังวิทยุ หรือการชมโทรทัศน์

7.3.2. การสื่อสารสองทาง

7.3.2.1. การพูดโทรศัพท์ การประชุม

8. วัสดุ อุปกรณ์ สื่อโสต

8.1. เป็นสื่อที่นับได้ว่าเป็นจุดเริ่มของสื่อการเรียนการสอน โดยเป็นสื่อที่บรรจุหรือถ่ายทอดข้อมูลเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยการได้ยินเสียงและเห็นภาพ

8.2. ประเภทเครื่องมือหรือโสตทัศนูปกรณ์

8.2.1. เครื่องฉาย

8.2.1.1. เป็นอุปกรณ์ฉายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ทำให้ผู้เรียนมองเห็นภาพหรือเนื้อหาได้ชัดเจนจากจอรับภาพ

8.2.1.1.1. เครื่องฉายข้ามศีรษะ

8.2.1.1.2. เครื่องฉายสไลด์

8.2.1.1.3. เครื่องฉายสไลด์

8.2.1.1.4. เครื่องดีแอลพี

8.2.2. เครื่องเสียง

8.2.2.1. เป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเนื้อหาประเภทเสียงจากมนุษย์และแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ให้ดังมากขึ้นเพื่อให้ได้ระยะทางในการได้ยิน

8.2.2.1.1. ลำโพง

8.2.3. การรองรับ การบันทึก การจัดแสดง

8.2.3.1. นำเสนอเนื้อหาวิชา ด้วยการ ขีด-เขียน ปะติด จัดวาง ประดับตกแต่งให้มีความสวยงามตามความคิดสร้างสรรค์ของผู้จัดทำ สามารถลงรายละเอียดปลีกย่อยในสิ่งที่นำเสนอ

8.2.3.1.1. บอร์ดนิทรรศการ

8.2.3.1.2. ป้ายนิเทศ

8.2.3.1.3. กระดานชอล์ค