Spirometer เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดสมรรถภาพปอดโดยวัดปริมาตร (volume) และอัตราการไหล (flow) ของอากา...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Spirometer เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดสมรรถภาพปอดโดยวัดปริมาตร (volume) และอัตราการไหล (flow) ของอากาศจากลมหายใจเข้าและออกจากปอด by Mind Map: Spirometer เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดสมรรถภาพปอดโดยวัดปริมาตร (volume) และอัตราการไหล (flow) ของอากาศจากลมหายใจเข้าและออกจากปอด

1. 1.ไอเป็นเลือด

2. 4.ระบบหลอดเลือด หัวใจทำงานไม่คงที่ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง, MI, PE

3. ประโยชน์ของการตรวจสมรรถภาพ

3.1. 1.วินิจฉัย

3.2. 2.ประเมินความรุนแรงของโรค

3.3. 3.ค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง

3.4. 4.วัดการตอบสนองต่อการรักษา

3.5. 5.ติดตามการดำเนินของโรคและการประเมินผลการรักษา

3.6. 6.ประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด

3.7. 7.ประเมินทุพพลภาพจากการทำงาน

4. การทดสอบสมรรถภาพการทำงานของปอด

4.1. ประโยชน์

4.1.1. ทดสอบการทำงานของปอด

4.1.2. ประเมินความสามารถการทำงานของระบบทางเดินหายใจ

4.1.3. ตรวจวัดความจุปอดและการอุดตันของทางเดินหายใจ

4.1.4. การตรวจวัดใช้เครื่องมือพิเศษ ปลอดภัย ทราบผลทันทีหลังการตรวจ

4.1.5. ตรวจเพื่อวินิจฉัยโรคระบบทางเดินหายใจทำให้ทราบความผิดปกติแต่เนิ่น ๆ

4.2. กลุ่มเสี่ยงที่ควรได้รับการตรวจ

4.2.1. สูบบุหรี่

4.2.2. ไอเรื้อรัง มากกว่า 2 เดือน *หายใจมีเสียงวี๊ด หอบเหนื่อย หายใจลำบาก

4.2.3. อาชีพที่เป็นกลุ่มเสี่ยง

4.2.3.1. ทำงานในโรงงานที่มีฝุ่น ควัน เหมืองแร่ ปูน

4.2.3.2. สัมผัสสารเคมี

4.2.3.3. ฝุ่นละออง

4.2.3.4. ใยสังเคราะห์ ฯลฯ

4.2.4. มีประวัติครอบครัวเป็นโรค

4.2.4.1. สงสัยจะเป็นโรคหืด

5. ข้อห้าม

5.1. 2.ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ

5.2. 3.ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด

5.3. 5.เส้นเลือดโป่ง

5.4. 6.หลังได้รับการผ่าตัด เช่น ช่องอก หรือ ช่องท้อง

5.5. 7.สตรีมีครรภ์

5.6. ผู้ที่มีอาการเจ็บป่วยที่อาจมีผลต่อการทดสอบ spirometry เช่น คลื่นไส้ อาเจียน หอบเหนื่อย อยู่ใน exacerbation

6. ภาวะแทรกซ้อนหลังจากการตรวจสมรรถภาพปอด

6.1. 1.ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นทำให้ปวดศีรษะ 2. เวียนหัว มึนงง อาจจะทำให้หมดสติได้ 3. ไอเพิ่มมากขึ้น 4. หลอดลมตีบ เช่น หืดหรือ COPD ที่คุมอาการไม่ดี 5. เจ็บหน้าอก 6.ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด 7.ขาดออกซิเจน

7. วิธีการตรวจสมรรถภาพปอด Peak Flow Meter

7.1. การตรวจ Peak Flow Meter จะได้ค่า PEFR (Peak Expiratory Flow Rate)

7.1.1. ค่า PEFR ขึ้นอยู่กับเพศ อายุ ส่วนสูง

7.1.2. ถ้าหลอดลมตีบลมจะออกมาได้ยาก

7.2. ความหมาย

7.2.1. Peak flow meter เป็นเครื่องวัดความเร็วลมที่เป่าออกมาจากปอดอย่างรวดเร็ว ค่าที่ได้จะบอกให้ทราบถึงสภาวะหลอดลม

7.2.1.1. การคำนวณ % predict สูตร A=ค่าที่ผู้ป่วยเป่าได้ B=ค่ามาตรฐาน PERF โดยเทียบจาก อายุและส่วนสูง จากตารางมาตรฐาน PERF สูตร: A*100/B= %

7.3. การดูแล Peak Flow Meter

7.4. หลักการใช้

7.4.1. 1.ประเมินผู้ป่วยและความสามารถในการเป่า 2.งดยาขยายหลอดลมก่อนทำการตรวจ 6-8 ชม. 3.ใช้หลักการ Breathing exercise แบบ purse lip

8. มาตรฐานของเครื่องมือและการควบคุมคุณภาพ

8.1. ด้านบุคลากร

8.1.1. Calibate เครื่องอย่างถูกต้อง

8.1.2. ตรวจวัดค่าต่างๆอย่างเคร่งครัดถูกต้องแม่นยำ

8.1.3. ศึกษาคู่มือการทำงานของเครื่องอย่างละเอียด

8.1.4. เจ้าหน้าที่ควรได้รับการฝึกอบรม

8.1.5. การบันทึกความผิดปกติสภาวะและการเปลี่ยนแปลงขณะตรวจ

8.2. สุขอนามัย

8.2.1. อากาศถ่ายเทดี

8.2.2. ล้างมือก่อนและหลังตรวจ

8.2.3. ทำความสะอาดและฆ่าเชื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ

8.2.4. ใช้ filter.และเปลี่ยน mouthpiece ทุกครั้งสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย

8.3. เครื่องมือ

8.3.1. ทำความสะอาด

8.3.2. Calibrate ก่อนใช้งานทุกวัน

8.3.3. ระมัดระวังและป้องกันการแพร่กระจายการติดเชื้อ

8.3.4. ดูอุณหภูมิ ความกดอากาศ และความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ

9. การประเมิน repeatability criteria

9.1. ค่า FEV ที่สูงสุดและค่ารองมาต่างกันไม่เกิน 150 ml

9.2. เป่าลมยาวอย่างน้อย 6 วินาที และมี plateau 1 sec

9.3. ค่า FVC ที่สูงสุดและค่ารองลงมาต่างกันไม่เกิน 150 ml