นวัตกรรมการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นวัตกรรมการศึกษา by Mind Map: นวัตกรรมการศึกษา

1. การศึกษาในศตวรรษที่ 21

1.1. สาระการเรียนรู้ที่ต้องเรียน

1.1.1. ภาษาอังกฤษ

1.1.2. ภาษาสากลต่างๆ

1.1.3. ศิลปะ

1.1.4. คณิตศาสตร์

1.1.5. เศรษฐศาสตร์

1.1.6. วิทยาศาสตร์

1.1.7. ภูมิศาสตร์

1.1.8. ประวัติศาสตร์

1.1.9. การปกครองและสิทธิหน้าที่พลเมือง

1.2. แนวคิด

1.2.1. ความตระหนักเกี่ยวกับโลก

1.2.2. ความเข้าใจและปฏิบัติเป็น

1.2.2.1. ด้านการเงิน

1.2.2.2. เศรษฐกิจ

1.2.2.3. ธุรกิจ

1.2.2.4. ผู้ประกอบการ

1.2.3. ความเข้าใจสามารถดำเนินชีวิตเป็นผู้มีสุขภาพที่ดี

1.2.4. ความเข้าใจ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี

1.2.5. ความเข้าใจที่ปฏิบัติเป็นด้านสิ่งแวดล้อม

1.3. ระบบสนับสนุนที่รัฐบาลจัด

1.3.1. ด้านมาตรฐานการประเมิน

1.3.2. หลักสูตรและวิธีการสอน

1.3.3. การพัฒนาวิชาการแก่ครู ผู้บริหาร

1.3.4. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้

1.4. ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน

1.4.1. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม

1.4.1.1. คิดแบบมีวิญจารญาณ

1.4.1.2. การสื่อสาร

1.4.1.3. การทำงานร่วมกัน

1.4.1.4. การสร้างสรรค์

1.4.2. ข้อมูลสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี

1.4.2.1. ความเข้าใจและใช้เป็น

1.4.2.1.1. ด้านสารสนเทศ

1.4.2.1.2. ด้านสื่อ

1.4.2.2. ความเข้าใจและปฏิบัติเป็น

1.4.2.2.1. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.4.2.2.2. ด้านการสื่อสาร

1.4.3. ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ

1.4.3.1. ความยืดหยุ่นในการปรับตัว

1.4.3.2. การริเริ่มและกำกับดูแลตนเอง

1.4.3.3. ทักษะด้านสังคม

1.4.3.4. ทักษะช่วยวัฒนธรรม

1.4.3.5. การมีผลงานและความรับผิดชอบ

1.4.3.6. ภาวะผู้นำและหน้าที่รับผิดชอบ

1.5. 3Rs (3รู้)

1.5.1. รู้อ่านรู้เขียน (literacy)

1.5.2. รู้คณิต (numeracy)

1.5.3. รู้ ICT (information and communications technology literacy)

2. IT FOR EDUCATION

2.1. IT

2.1.1. ความเหมาะสม

2.1.1.1. ความพร้อม

2.1.1.2. สถานศึกษา

2.1.1.3. บุคคลากร

2.1.1.4. งบประมาณ

2.1.2. อุปรกรณ์

2.1.3. เครื่องมือ

2.1.4. คอมพิวเตอร์

2.1.5. INTERNET

2.1.6. WBI

2.1.7. CAI

2.1.8. LCD

2.1.9. E-learning

2.1.10. Social Media for Learning

2.2. Non-IT

2.2.1. No INTERNET

2.2.2. No Electric

2.2.3. ใช้สิ่งใหม่ๆ

2.2.3.1. แนวคิดใหม่ๆ

2.2.3.2. วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ

2.2.3.3. สิ่งประดิษฐ์

2.2.3.4. ดัดแปลงจากของเดิม

2.2.4. เทคนิค

2.2.4.1. กลุ่มเล็ก

2.2.4.2. ร่วมมือ

2.2.4.3. การประดิษฐ์

3. เครื่องมือบนโลกออนไลน์

3.1. AR Type

3.1.1. เทคโนโลยีที่ผสมความเป็นจริงกับโลกเสมือน

3.2. Infographic Type

3.2.1. นำเสนอข้อมูลที่ยากไปน้อย

3.3. Presentation Type

3.3.1. สื่อการนำเสนอ

3.3.2. เรียนรู้ง่าย

3.4. Game Type

3.4.1. ใช้สิ่งที่เรียนมาปรับใช้

3.5. Blog Type

3.5.1. ใช้เก็บข้อมูลการนำเสนอ

3.6. Encyclopedia Type

3.6.1. เครื่องมือการทำงาน

3.6.1.1. ศึกษาจากสิ่งที่มีผู้บันทึกไว้

3.6.1.2. แบ่งเป็นสิ่งที่ตนเชี่ยวชาญ

3.7. Personal Website Type

3.7.1. ผู้สอนสร้าง Web

3.7.1.1. นำเสนองานแก่ผู้เรียน

3.8. Social Media Type

3.8.1. เครื่องมือสร้างชุมชนของผู้คนบนสังคมออนไลน์

3.9. Curation Type

3.9.1. Scoop It

3.9.2. Pin-terest

3.10. Video-Base sharing Type

3.10.1. ผู้ใช้สามารถใช้ปประโยชน์จากไอค่อนต่างๆ

3.11. Animation Type

3.11.1. กราฟฟิกเคลื่อนไหว

3.12. LMS Type

3.12.1. E-Learning

3.12.2. Learning Management System

4. ประโยชน์ของสื่อการเรียนรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

4.1. การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ

4.1.1. ถ่ายทอดเนื้อหา

4.1.1.1. สื่อมัลติมีเดียในสื่อประสม

4.2. สามารถสร้างให้ผู้เรียนเกิดการกะตือรือร้น

4.3. ผู้เรียนสนุกไปตามแนวคิด

4.3.1. Learning Fun

4.4. ทำได้สะดวก

4.4.1. ปรับเปลี่ยน

4.4.2. แก้ไข

4.4.3. ลบข้อความ

4.5. เนื้อหาทันสมัย ตอบสนองต่อเรื่องราวในปัจจุบัน

4.6. สามารถเลือกเรียนได้ตามศักยภาพ

4.7. ตอบสนองความต้องการ ความแตกต่าง

4.8. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

4.9. ตอบสนองต่ออุปกรณ์ได้หลายประเภท

4.10. ส่งเสริมความเท่าเทียมของการศึกษา

4.11. เปิดโอการให้เข้าถึงอย่างอิสระ

4.12. ปฏิสัมพันธ์

4.12.1. ผู้สอน ผู้เรียน

4.12.2. ผู้เรียนด้วยกัน กับเนื้อหา

5. ทฤษฎี ความหมาย แนวคิด ความสำคัญทางเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร

5.1. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านการศึกษา

5.1.1. นวัตกรรม (Innovation)

5.1.1.1. เทคโนโลยี

5.1.1.1.1. ความเหมาะสม

5.1.1.1.2. สถานศึกษา

5.1.1.1.3. บุคคลากร

5.1.1.1.4. งบประมาณ

5.1.1.2. Non เทคโนโลยี

5.1.1.2.1. สื่อการสอน (ทำมือ)

5.1.1.2.2. ทฤษฎีการสอน

5.1.1.2.3. เครื่องมือ

5.1.1.2.4. อุปกรณ์ในการเรียนการสอน

5.1.1.3. Education of Innovation

5.1.1.3.1. หลักการใหม่ๆ

5.1.1.3.2. ให้ผู้เรียนมีประสิทธิภาพ แรงจูงใจ

5.1.1.3.3. ทำให้เกิดเทคโนโลยีทางนวัตกรรม

6. ประเภทนวัตกรรมการศึกษา

6.1. คุณลักษณะ

6.1.1. เครื่องมือ

6.1.2. วัสดุ

6.1.3. วิธีการ

6.2. ผู้บริหารสถานศึกษา

6.2.1. นวัตกรรมการบริหารจัดการ

6.2.1.1. แนวทาง

6.2.1.2. นโยบาย

6.3. ผู้สนับสนุนการสอน

6.3.1. นวัตกรรมสำหรับครู

6.3.1.1. ด้านเครื่องมือ

6.3.1.2. ด้านสื่อ (นวัตกรรมร่วมสมัย)

6.3.1.2.1. สื่อสิ่งพิมพ์

6.3.1.2.2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์

6.3.1.3. ด้านวิธีการ

6.3.1.3.1. ผลลัพท์ที่เกิด

7. แอพพลิเคชั่นเพื่อการศึกษา

7.1. Aurasma (AR)

7.1.1. นิยมอย่างมาก

7.1.2. IOS And Andriod

7.1.3. สร้าง AR ด้วยตนเอง

7.1.4. วิดีโอ

7.1.5. ภาพนิ่ง

7.1.6. 3D

7.2. Mind Meister

7.2.1. สร้างแผนผังความคิด

7.2.1.1. สรุป

7.2.1.2. เรียบเรียง

7.3. Pingpong

7.3.1. สะดวกต่อการใช้งาน

7.3.2. รองรับอุปกรณ์ทุกรูปแบบ

7.3.3. สร้างกิจกรรม

7.3.4. IOS And Andriod

7.4. Twitter or Micro Blog

7.4.1. เป็นเครื่องมือส่งความ

7.4.1.1. ไม่เกิน 140

7.4.2. ใช้งานได้ด้วยกัน

7.4.2.1. ผู้เรียน

7.4.2.2. ผู้สอน

8. พัฒนาการและแนวโน้มของนวัตกรรม

8.1. ระบบแบบเดิม

8.1.1. ผู้สอน

8.1.1.1. เน้นการบรรยาย

8.1.2. ผู้เรียน

8.1.2.1. นั่งฟัง ทำตามคำสั่งผู้สอน

8.2. Current Section

8.2.1. ตอบโจทย์กับผู้เรียน

8.2.1.1. ยุคสมัยใหม่

8.3. Future Leaning System

8.3.1. ระบบใหม่

8.3.1.1. ผู้สอน

8.3.1.1.1. ผู้ช่วยเหลือ

8.3.1.1.2. อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียน

8.3.1.2. ผู้เรียน

8.3.1.2.1. ผู้สืบค้น ค้นคว้า

8.3.1.2.2. สิ่งที่ได้รับ