พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขั้น ตามทฤษฎีของแอริคสัน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขั้น ตามทฤษฎีของแอริคสัน by Mind Map: พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขั้น ตามทฤษฎีของแอริคสัน

1. ช่วง 20-40 ปี

1.1. รู้จักตัวตนของตนเอง

1.2. สร้างความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับผู้อื่นได้

1.3. ตัวอย่าง

1.3.1. รู้จักตัวตนของตนเอง

1.3.1.1. สามารถแลกเปลี่ยนความสัมพันธ์อย่างสนิทสนมกับผู้อื่นได้

1.3.2. ไม่รู้จักตัวตนของตนเอง

1.3.2.1. ไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์อย่างสนิทสนมกับผู้อื่นได้

2. ขั้นที่ 5 ความเป็นอัตลักษณ์หรือความสับสนในบทบาท (Identity vs. Role Confusion)

2.1. ช่วง 12-18 ปี

2.1.1. พยายามค้นหาความเป็นตัวเอง

2.1.2. ตัวอย่าง

2.1.2.1. พ่อแม่เปิดโอกาสให้เด็กค้นหาตนเอง

2.1.2.1.1. เด็กค้นหาความเป็นตนเองเจอ

2.1.2.2. พ่อแม่ปิดกั้นโอกาสไม่ให้เด็กค้นหาตนเอง

2.1.2.2.1. รู้สึกสับสนในตนเอง

3. ขั้นที่ 6 ความใกล้ชิดสนิทสนมหรือความรู้สึกโดดเดี่ยวอ้างว้าง (Intimacy vs. Isolation)

4. ขั้นที่ 7 การอนุเคราะห์เกื้อกูลหรือเห็นแก่ตัว (Generativity vs. Self absorption/ Stagnation)

4.1. ช่วง 40-60 ปี

4.1.1. ค้นหาความรู้สึกที่สามารถสร้างประโยชน์ต่อส่วนรวม

4.1.2. ตัวอย่าง

4.1.2.1. ทำได้

4.1.2.1.1. มีความสำนึกต่อส่วนรวม

4.1.2.2. ทำไม่ได้

4.1.2.2.1. หมกมุ่นกับตนเอง ไม่มีความสุข

4.1.2.2.2. เอาตนเองเป็นศูนย์กลาง

5. ขั้นที่ 8 ความมั่นคงสมบูรณ์ในชีวิตหรือความสิ้นหวัง (Integrity vs. Despair)

5.1. ช่วง 60 ปีขึ้นไป

5.1.1. คิดถึงวันวานของตนเอง

5.1.2. ตัวอย่าง

5.1.2.1. ชีวิตที่ผ่านมาสำเร็จ

5.1.2.1.1. รู้สึกสบายใจและมั่นคง

5.1.2.2. ชีวิตที่ผ่านมาล้มเหลว

5.1.2.2.1. รู้สึกสิ้นหวังต่อชีวิต

6. ขั้นที่ 1 ความรู้สึกไว้เนื้อเชื่อใจหรือ ความไม่ไว้วางใจ (Trust vs. Mistrust)

6.1. ระยะขวบปี แรก

6.1.1. เด็กต้องการพึ่งพาจากผู้เลี้ยงดู

6.1.1.1. ด้านกายภาพ

6.1.1.2. ด้านจิตใจ

6.1.1.2.1. พัฒนาการในขั้นตอนนี้มีผลต่อทัศนคติในวัยต่อมา

6.1.2. ตัวอย่าง

6.1.2.1. ได้รับการเลี้ยงดูอย่างอบอุ่น

6.1.2.1.1. พัฒนาความรู้สึกไว้วางใจ (Sense of Trust) ผู้อื่น

6.1.2.2. ไม่ได้รับการเลี้ยงดูอย่างอบอุ่น

6.1.2.2.1. มีอาการหวั่นกลัว ไม่ไว้ใจตนอื่นและผู้อื่น

7. ขั้นที่ 2 ความเป็นตัวของตัวเอง หรือ ความละอายและสงสัย (Autonomy vs. Shame and Doubt)

7.1. ช่วง 2-3 ปี

7.1.1. เริ่มเรียนรู้การทำกิจกรรมด้วยตนเอง และ ตามใจตนเอง

7.1.2. ตัวอย่าง

7.1.2.1. พ่อแม่เคร่งครัด และ ไม่ให้โอกาสในการทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง

7.1.2.1.1. เด็กมีความรู้สึกไม่แน่ใจในตนเอง และ ไม่กล้าทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง

7.1.2.2. พ่อแม่สนับสนุนการทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง

7.1.2.2.1. เด็กมีความรู้สึกว่าตนเองมี อิสระ และ ทำสิ่งต่างๆได้ด้วยตนเอง

8. ขั้นที่ 3 ความคิดริเริ่มหรือความรู้สึกผิด (Initiative vs. Guilt)

8.1. ช่วง 4-5 ปี

8.1.1. ริเริ่มทำกิจกรรมและมีปฏิสัมพันธ์ต่อเพื่อนรุ่นเดียวกัน

8.1.2. ตัวอย่าง

8.1.2.1. พ่อแม่สนับสนุนให้ทำกิจกรรม

8.1.2.1.1. สามารถเริ่มทำกิจกรรมได้ด้วยตนเอง

8.1.2.2. ถูกควบคุมและสอดส่องความประพฤติตลอดเวลา

8.1.2.2.1. รู้สึกผิดตลอดเมื่อต้องทำอะไรด้วยตัวเอง

9. ขั้นที่ 4 ความขยันหมั่นเพียรหรือความรู้สึกต่ำต้อย (Industry vs. Inferiority)

9.1. ช่วง 6-11 ปี

9.1.1. เด็กเรียนรู้ที่จะสร้างสรรค์และพอใจในสิ่งที่ตนเองทำ

9.1.2. ตัวอย่าง

9.1.2.1. พ่อแม่สนับสนุน

9.1.2.1.1. เป็นคนที่มีความเพียรพยายามและชอบท้าทาย

9.1.2.2. พ่อแม่ไม่สนับสนุน

9.1.2.2.1. รู้สึกต่ำต้อยด้อยค่า