นวัตกรรมการเรียนรู้

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นวัตกรรมการเรียนรู้ by Mind Map: นวัตกรรมการเรียนรู้

1. กลุ่ม 5 เครื่องมือบนโลกออนไลน์ (New Media)

1.1. AR type

1.2. Inf

1.3. Presentation type

1.4. Animation type

1.5. Game type

1.6. Blog type

1.7. Encyclopedia type

1.8. Personal Website type

1.9. Social Media type

1.10. Curation type

1.11. Video - based sharing type

2. กลุ่ม 6 แอพพลิเคชั่นเพื่อการศึกษา (Apps for Education)

2.1. ในปัจจุบัน Applications ที่เกี่ยวข้องในการศึกษามีมากมาย ซึ่งเป็นสื่อกลางที่ใช้ในการเรียนการสอน และผู้สอนก็สามารถใช้แอพพลิเคชั่นไปพร้อมกับกับผู้เรียนได้ และสามารถโหลดแอพเหล่านี้ไว้ในเครื่องมือสื่อสารที่พกพาได้ ทั้งในระบบ ios และ Android เช่น มือถือ แท็บแล็ต เป็นต้น

3. กลุ่ม 7 ประโยชน์ของสื่อการเรียนรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

3.1. ต่อครูผู้สอน

3.1.1. เป็นการช่วยให้บรรยากาศในการสอนน่าสนใจมากยิ่งขึ้น

3.1.2. สื่อจะช่วยแบ่งเบาภาระของผู้สอนในการเตรียมเนื้อหา

3.1.3. เป็นการกระตุ้นให้ผู้สอนตื่นตัวอยู่เสมอในการเตรียมและผลิตวัสดุใหม่ๆ

3.2. ต่อตัวผู้เรียน

3.2.1. เป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในระยะเวลาอันสั้น

3.2.2. สื่อจะช่วยกระตุ้นและสร้างความสนใจให้กับผู้เรียน ทำให้เกิดความสนุกและไม่รู้สึกเบื่อหน่าย

3.2.3. การใช้สื่อจะทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตรงกันและเกิดประสบการณ์ร่วมกันในวิชาที่เรียน

3.2.4. ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น ทำให้เกิดมนุษยสัมพันธ์

3.2.5. ทำให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงครูผู้สอนที่นำสื่อมาใช้ในการสอนและจากสิ่งแวดล้อมรวมไปถึงทางสังคมและวัฒนธรรม

3.2.6. เทคโนโลยีสารสนเทศของสื่อการเรียนการสอนทำให้เด็กสามารคิดแยกแยะได้และมีความคิดรวบยอดเป็นอย่างเดียวกัน

4. กลุ่ม 8 พัฒนาการและแนวโน้มของนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในอนาคต current section

4.1. ระบบการศึกษาเก่า+นักเรียน=ความตึงเครียด ความอึดอัด

4.1.1. ครู = สอนเยอะ เน้นบรรยาย

4.1.2. นักเรียน = เน้นจด ท่องจำคำตอบไปสอบ

4.2. ระบบการศึกษาใหม่ future learning system

4.2.1. ครู = ผู้ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวกให้แก่นักเรียน

4.2.2. นักเรียน = เน้นศึกษา ค้นคว้าหาความรู้จากสิ่งรอบตัว

4.3. คุณลักษณะ

4.3.1. Easy

4.3.1.1. ใช้งานง่าย

4.3.2. Engage

4.3.2.1. เวลาในชั้นเรียน

4.3.3. Effective

4.3.3.1. ประสิทธิผลในชั้นเรียน

4.3.4. Mobile

4.3.4.1. อุปกรณ์ที่สามารถพกพาได้

4.3.5. Personal

4.3.5.1. การศึกษาที่พัฒนา

4.3.6. Social

4.3.6.1. สื่อสารสนเทศ เครื่อข่ายการเรียนรู้

5. กลุ่ม 1 ทฤษฎี ความหมาย แนวคิด ความสำคัญทางนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

5.1. Innovation

5.1.1. นวัตกรรม+การศึกษา = แนวความคิดการปฏิบัติหรือ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อนหรือ การพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น

5.1.1.1. ช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม

5.1.1.2. ประหยัดเวลาในการเรียนการสอน

5.1.1.3. เกิดแรงจูงใจในการเรียน

5.1.2. เทคโนโลยี

5.1.2.1. อุปกรณ์

5.1.2.2. อินเทอร์เน็ต

5.1.2.3. อื่นๆ

5.1.3. ไม่ใช่ เทคโนโลยี

5.1.3.1. แนวคิด

5.1.3.2. การปฏิบัติ

5.1.3.3. การดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น

5.1.3.4. เทคนิค วิธีการ รูปแบบการสอนต่างๆ

6. กลุ่ม 2 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา

6.1. นวัตกรรมการบริหารจัดการ สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา

6.1.1. ทรัพยากร

6.1.2. บุลคลากร

6.1.3. นโยบายต่างๆ

6.2. นวัตกรรมสำหรับครูผู้สอน

6.2.1. ด้านเครื่องมือ

6.2.2. ด้านสื่อ

6.2.3. ด้านวิธีการ

7. กลุ่ม 3 การศึกษาในศตวรรษที่ 21

7.1. หลักการ

7.1.1. Authentic learning

7.1.1.1. การเรียนรู้ที่แท้จริง เป็นการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้เข้าใจ และสามารถนำสิ่งที่เรียนรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ตามสภาพแวดล้อมของนักเรียนแต่ละบุคคลได้

7.1.2. Mental model building

7.1.2.1. การเรียนรู้ในระดับกระบวนทัศน์ เป็นการนำประสบการณ์ที่สั่งสมมาก่อเกิดเป็นค่านิยม หรือ ความเชื่อ

7.1.3. Internal motivation

7.1.3.1. การเรียนรู้ที่แท้จริงที่มาจากแรงขับดันด้วยฉันทะ เพื่อให้มีความกระตือรือร้นและประสบความสำเร็จดั่งที่คาดหวัง

7.1.4. Multiple intelligence

7.1.4.1. การจัดการเรียนรู้ตามความถนัดของเด็กแต่ละคน

7.1.5. Social learning

7.1.5.1. การเรียนรู้กิจกรรมทางสังคม เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจบริบทของสังคมไทย

7.2. บทบาท

7.2.1. เพื่อการทำงานและเพื่อสังคม

7.2.2. เพื่อฝึกฝนสติปัญญาของตน

7.2.3. เพื่อทำหน้าที่พลเมือง

7.2.4. เพื่อสืบทอดจารีตและคุณค่า

7.3. 3R x 7C

7.3.1. Reading (อ่านออก) (W)Riting (เขียนได้) และ (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)

7.3.2. Critical thinking & problem solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา)

7.3.3. Creativity & innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)

7.3.4. Cross-cultural understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)

7.3.5. Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ)

7.3.6. Communications, information & media literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ)Computing & ICT literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)

7.3.7. Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)

7.4. ทักษะครูเพื่อศิษย์ไทยในศตวรรษที่ 21

7.4.1. ครูต้องยึดหลัก “สอนน้อย เรียนมาก” คือในการจัดกิจกรรมทางการเรียนต่างๆ ครูต้องให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ เข้าใจในสิ่งที่ครูสอนมากที่สุดโดยใช้ลักษณะของผู้เรียนเป็นหลัก โดยเน้นครูไม่ต้องสอน แต่ต้องออกแบบการเรียนรู้ และอำนวยความสะดวก (facilitate) ในการเรียนรู้ ให้นักเรียนเรียนรู้จากการเรียนแบบลงมือทำ แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจและสมองของตนเอง การเรียนรู้แบบนี้เรียกว่า PBL (Project-Based Learning)

8. กลุ่ม 4 การประยุกต์ใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ในศตวรรษที่ 21 (MAGICS)

8.1. M – Mobile & MOOC

8.1.1. Mobile คือการเรียนรู้ที่อาศัยอุปกรณ์ที่สามารถพกพาได้ ใช้เพื่อการสืบค้นข้อมูล และการใช้เพื่อการเรียนรู้ผ่านสื่อ และแอพพลิเคชั่นต่างๆ เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ

8.1.2. MOOC – Massive Open Online Course ในภาษาไทยแปลว่า “รายวิชาออนไลน์ที่เปิดให้ใช้ฟรีสำหรับคนจำนวนมาก” หรือการเรียนระบบเปิด ที่มีรูปแบบการนำเสนอการเรียนรู้หลักสูตรต่างๆ ทางออนไลน์ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าเรียนได้พร้อมๆ กันในจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการให้บริการฟรี

8.2. A – Analytics

8.2.1. การนำไอทีมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สารสนเทศ ต่างๆ ของผู้เรียน

8.3. G – Gamifications

8.3.1. การนำเนื้อหาการเรียนรู้ไปออกแบบในสิ่งแวดล้อมของเกม

8.4. I – Internet of (Every) Thing(s)

8.4.1. อุปกรณ์ต่างๆ มีการฝังสมาร์ทเซนเซอร์ หรือ ชิปไว้ เพื่อการเชื่อมต่อระหว่างกันผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยที่อุปกรณ์นั้นสามารถส่งผ่านข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ระหว่างกันเพื่อเพิ่มประโยชน์และคุณค่าของบริการ

8.5. C – Cloud For Learning

8.5.1. รูปแบบการให้บริการ ในลักษณะการแบ่งปันทรัพยากร แอพพลิเคชั่น และ หรือข้อมูลต่างๆ โดยจะถูกเก็บไว้บนเครื่อง Server ขนาดใหญ่ ที่สามารถให้บริการกับผู้คนจำนวนมากได้

8.6. S – Social Media

8.6.1. สื่อสังคมออนไลน์ที่อนุญาตให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการเป็นผู้ที่สร้างเนื้อหา ด้วยข้อความ รูปภาพ กราฟิก เสียง หรือคลิปวีดีโอ เป็นต้น ทางเว็บไซต์หรือแอพพลิเคชั่นต่างๆ เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึง แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร