ปรัชญาการเรียนร่วม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปรัชญาการเรียนร่วม by Mind Map: ปรัชญาการเรียนร่วม

1. - ความหมาย 📚 การจัดบริการทางการศึกษาให้กับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษประเภทต่างๆ ร่วมกับนักเรียนปกติโดยมีการส่งเสริมการเรียนรู้โดยคำนึงถึงความสามารถพื้นฐานของแต่ละบุคคล ตลอดจนให้ ความช่วยเหลือตามความจำเป็นเพื่อให้นักเรียนสามารถดำเนินชีวิตและพึ่งพาตนเองให้ได้มากที่สุด และปรับตัวอยู่ในสังคมได้ตามศักยภาพ

2. แนวคิดพื้นฐานในการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

2.1. - แนวคิดการนำนักเรียนเข้าสู่สภาวะปกติ - แนวคิดการสอนเป็นรายบุคคล - แนวคิดการสอนแบบไม่แยกประเภทความบกพร่อง - แนวคิดการเน้นสิ่งที่ปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน - แนวคิดในการประสานงานระหว่างวิชาสหขา - แนวคิดพฤติกรรมนิยม - แนวคิดทางนิเวศวิทยา ( ปรับพฤติกรรม, สร้างความเข้าใจความแตกต่างทางสังคม และระหว่างบุคคล )

3. ทฤษฎีการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม ต้องการให้ผู้ที่มีความต้องการพิเศษสามารถเรียนร่วมและใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับนักเรียนปกติได้ ตลอดจนสามารถปรับหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษได้

4. ความแตกต่างของ Integrative และ Inclusive education

4.1. ลักษณะการจัดการศึกษาปัจจัยที่พิจารณา - ประเด็นปัญหา - หลักสูตร - ผู้เรียน - ผู้สอน - การประเมินผล

4.1.1. Integrative education (รวม) - ผู้เรียน - ยึดตัวเอง - รู้ว่าแตกต่างแต่ต้องทำตามเกณฑ์ - สอนตามปกติ - เกณฑ์ปกติ

4.1.2. Inclusive education (ร่วม) - ระบบการศึกษา - ยืดหยุ่นตามผู้เรียน - รู้ว่าแตกต่างแต่พยายามพัฒนาศักยภาพ - สอนโดยคำนึงความแตกต่างรายบุคคล - พัฒนาการรายบุคคล

5. คำศัพท์สำคัญในการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม 📒 การเรียนร่วมเป็นบางเวลา Integration หมายถึง การจัดให้ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษเข้าไปในชั้นเรียน เรียนตามปกติแบบเต็มเวลา แต่จะมีการพัฒนาหลักสูตร วิธีสอน แบบเฉพาะ แผนการสอนแบบเฉพาะ มีเทคโนโลยีที่อำนวยความสะดวกในการบำบัดหรือช่วยเหลือผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ (IEP)📝

6. การเปรียบเทียบการเรียนแบบเดิมกับการเรียนร่วม

6.1. การเรียนการสอนแบบเดิม

6.1.1. - ไม่ยืดหยุ่น - สอนแบบกลุ่ม - จัดการเรียนรู้แบบแยก - วิชาเป็นศูนย์กลาง/ วิธีการตามความพิการ - มองความพิการ/ การตีตรา

6.2. การเรียนการสอนแบบเรียนร่วม

6.2.1. - ยืดหยุ่น - สอนแบบรายบุคคล - จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ - นักเรียนเป็นศูนย์กลาง/ วางแผนตามความสามารถ - มองที่หลักสูตร/ ไม่มีตีตรา

7. ลักษณะของการจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการพิเศษ

7.1. 🍭การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม Integrative education มุ่งแก้ปัญหาความบกพร่องของนักเรียนให้สู่มาตรฐาน

7.2. 🍭 จัดการศึกษาแบบเรียนรวม Inclusive education มุ่งไปที่การแก้ปัญหาเชิงระบบ

8. หลักเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในการจัดชั้นเรียน - จำนวนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ - ระดับความพิการและความสามารถของนักเรียน - ประเภทของนักเรียน - วุฒิภาวะทางอารมณ์และสังคมของนักเรียน

9. ตำแหน่งการจัดห้องเรียน - ห้องเรียนที่ดีต้องมีการออกแบบให้เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นห้องเรียนของนักเรียนปกติหรือนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ - ในเรื่องเสียง อุณหภูมิ - อุปกรณ์ต่างๆเหมือนปกติแต่สำหรับในห้องเรียนของนักเรียน มีความต้องการอาจจะมีเพื่อนซึ่งเป็นส่วนของตู้สำหรับเก็บอุปกรณ์ เอกสาร คู่มือผู้สอน และที่ว่างสำหรับจัดกิจกรรม