ยุคการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ยุคการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม by Mind Map: ยุคการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม

1. การเคลื่อนไหวทางพฤติกรรมศาสตร์

1.1. Douglas McGregor 1906-1964

1.1.1. นักบริหารอุตสาหกรรมชาวอเมริกัน ตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับทัศนะของผู้บริหารต่อคนงาน เป็นผู้คิดค้นทฤษฎี X และ Y

1.2. Abraham Maslow 1908-1970

1.2.1. นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน

1.2.2. เชื่อว่าแรงจูงใจมาจากธรรมชาติของมนุษย์

1.2.3. กระทำเพื่อเติมเต็มความต้องการที่ยังไม่พอใจ

1.2.4. ความต้องการมีลำดับขั้น

1.2.5. คนงานมีความต้องการอื่นๆ นอกเหนือจากเงิน

1.3. Kurt Levin

1.3.1. ทฤษฎีพลวัตกลุ่มของเลวิน ผลงานที่เกี่ยวกับกลุ่ม - ประชาธิปไตย - อัตตาธิปไตย

1.4. Carl R. Roger

1.4.1. ทฤษฎีคนไข้เป็นศูนย์กลาง -การนั่งในใจคน -การให้คำปรึกษา

1.5. Gosh homans

1.5.1. ทฤษฎีกลุ่มย่อย เน้นภาพรวมของกลุ่มและการทำหน้าที่ของกลุ่ม กลุมเกิดจากกิจกรรม ปฏิสัมพันธ์ และการมีอารมณ์ร่วม

2. ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์

2.1. ทฤษฎีองค์การ

2.1.1. Abraham Maslow 1908-1970

2.1.2. Douglas McGregor 1906-1964

2.1.2.1. ทฤษฎี X

2.1.2.1.1. คนไม่ชอบทำงาน หลีกเลี่ยงงาน

2.1.2.1.2. คนต้องการให้บังคับ ควบคุม ขู่เข็ญ ลงโทษให้บรรลุเป้าหมาย

2.1.2.1.3. คนไม่รับผิดชอบ ไม่มีความทะเยอทะยาน แต่อยากมั่นคง

2.1.2.2. ทฤษฎี Y

2.1.2.2.1. โดยธรรมชาติพนักงานชอบการทำงาน

2.1.2.2.2. พนักงานมีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาและบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การ

2.1.2.2.3. พนักงานมีความรับผิดชอบ

2.1.3. William Ouchi

2.1.3.1. การบริหารแบบญี่ปุ่นผสมอเมริกัน

2.1.3.1.1. เน้นความมั่นคงในการทำงาน มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ รับผิดชอบเป็นปัจเจกบุคคล เพิ่มคุณภาพ ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง ควบคุมแบบไม่เป็นทางการ เปิดโอกาสกว้าง มีคุณภาพชีวิตที่ทำงานและครอบครัว

2.2. ทฤษฎีภาวะผู้นำ

2.2.1. ทฤษฎีภาวะผู้นำแบบตาข่าย

2.2.1.1. 1,1 ผู้นำแบบปล่อยตาม

2.2.1.1.1. 1,9 ผู้นำแบบเน้นสมาคม

2.2.2. ทฤษฎีภาวะผู้นำตามสถาณการณ์

2.2.2.1. ลักษณะพื้นฐานภาวะผู้นำ

2.2.2.1.1. separate

2.2.2.1.2. dedicate

2.2.2.1.3. related

2.2.2.1.4. integrate

2.2.3. ทฤษฎีภาวะผู้นำของแบส

2.2.3.1. ผู้นำเป็นผู้ที่ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

2.2.3.1.1. (1)การมีอิทธิพลเชิงอุคมคติ(Charisma or Idealized Influence :CI or II)

2.2.3.1.2. (2)การสร้างแรงบันดาลใจ(Inspirational Motivation-IM)

2.2.3.1.3. (3)การกระตุ้นทางปัญญา(Intellectual Stimulation-IS)

2.2.3.1.4. (4)การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล(Individualized Consideration-IC)

3. นักพฤติกรรมศาสตร์ยุคเริ่มแรก

3.1. Hugo Munsterberg 1863-1916

3.1.1. นักจิตวิทยาและการแพทย์ชาวเยอรมัน

3.1.2. บิดาแห่งจิตวิทยาอุตสาหกรรม

3.1.3. ทำการทดลองเชิงจิตวิทยากับวงการอุตสาหกรรม:

3.1.4. ใช้หลักบริหารทางวิทยาศาสตร์มาช่วยวิเคราะห์และจำแนกคนให้เหมาะสมกับงาน

3.1.5. ใช้หลักบริหารทางวิทยาศาสตร์มาช่วยศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการทำงาน

3.1.6. ศึกษาหาวิธีที่ทำให้คนงานมีพฤติกรรมสอดคล้องกับเป้าหมายองค์การ

3.2. Mary Parker Follett 1868-1933

3.2.1. นักรัฐ-สังคมศาสตร์ชาวอเมริกัน

3.2.2. สนใจการจ้างงานและสภาพแวดล้อมในการทำงาน

3.2.3. เน้นอิทธิพลกลุ่มต่อการทำงานในองค์การ

3.2.4. เน้นการมีอำนาจร่วมกัน มากกว่าการมีอำนาจเหนือกัน

3.2.5. เน้นการบูรณาการปัญหาร่วมกันระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน

4. การศึกษาที่ฮอว์ธอน

4.1. Elton Mayo

4.1.1. ทำการทดลองเพื่อการปรับปรุงเครื่องมือและวิธีการทำงานตามทัศนคติเชิงวิทยาศาสตร์ ศึกษา 3 ครั้ง พบว่า แสงสว่างกับประสิทธิภาพการทำงาน- ไม่มีผลโดยตรง เพิ่มปัจจัยสภาพแวดล้อมต่างๆ- ไม่พบความสัมพันธ์ สังเกตกลุ่มทางสังคม- อิทธิพลกลุ่มแบบไม่เป็นทางการ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม- แรงจูงใจทางสังคมแทนความเป็นมนุษย์เศรษฐกิจ