ดญ.กมลลักษณ์ พรหมประเสริฐ 5ปี DX.Aute Gastritis Pt.สองวันก่อนมาโรงบาลมีไข้สูง อาเจียนมากกว่า 10 ร...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ดญ.กมลลักษณ์ พรหมประเสริฐ 5ปี DX.Aute Gastritis Pt.สองวันก่อนมาโรงบาลมีไข้สูง อาเจียนมากกว่า 10 รอบรับประทานอาหารไม่ได้ ถ่ายเหลว ไอ มีน้ำมูก กินยาแล้วไม่ดีขึ้น CC.สองวันก่อนมาโรงบาลไข้สูง by Mind Map: ดญ.กมลลักษณ์ พรหมประเสริฐ 5ปี DX.Aute Gastritis Pt.สองวันก่อนมาโรงบาลมีไข้สูง อาเจียนมากกว่า 10 รอบรับประทานอาหารไม่ได้ ถ่ายเหลว ไอ มีน้ำมูก กินยาแล้วไม่ดีขึ้น CC.สองวันก่อนมาโรงบาลไข้สูง

1. อาการทางคลินิค

1.1. อาการปวดท้อง

1.1.1. คลุมเครือ(ไม่ชัดเจน)

1.1.2. กดเจ็บ

1.1.3. มีเลือดออก

1.2. อาการคลื่นใส้

1.2.1. Vomiting

1.3. กรดไหลย้อน

1.3.1. อาการปวดเพิ่มขึ้นหลังรับประทานอาหาร

1.3.2. อาการปวดเพิ่มขึ้นเมื่อนอนราบ

2. การรักษา

2.1. ยา

2.1.1. ยาลดกรด

2.2. อาหาร

2.2.1. อาหารอ่อน

2.2.2. หลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ด

2.3. ลดความเครียด

2.4. ผ่าตัด

2.4.1. ซ่อมแซมแผลในกระเพาะอาหาร

3. ปัจจัยเสี่ยง

3.1. การใช้ NSAID

3.2. อายุ

3.3. อาหาร

3.4. ความเครียด

4. Dischrge Plan

4.1. M : Medication แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยา

4.2. E : Environment จัดสภาพแววล้อมให้ปลอดโปร่ง ทำจิตใจ ให้ร่าเริง อย่าให้เครียดหรือวิตกกังวล

4.3. T : Treatment สำหรับผู้ป่วยรายนี้แนะนำให้จิบน้ำหรือเกลือแร่บ่อยๆ

4.4. H : Heath แนะนำเกี่ยวกับการออกกำลังกายบ่อยๆ

4.5. O : Out-patent referral ผู้ป่วยรายนี้แพทย์ไม่ได้นัดให้มาตรวจซ้ำก่อนกลับบ้าน จึงแนะนำให้สังเกตอาการ หากมีไข้สูง ไอ เจ็บคอ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หรือมีอาการผิดปกติอื่นๆ ให้มาพบแพทย์ ไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง

4.6. D : Diet แนะนำให้รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ ไม่รับประทานอาหารรสจัดและรับประทานให้ตรงเวลา ไม่ควรงดมื้อใดมื้อหนึ่ง

4.7. psychosocial Pt&family

4.7.1. ผู้ป่วยมีสีหน้าคิ้วขมวดมีอาการซึม

4.7.2. ผู้ปกครองมีความกังวลเนื่องจากเป็นห่วงลูก

5. พยาธิสรีรวิทยา

5.1. รุนแรง

5.1.1. แผลอักเสบ

5.1.2. เพิ่มการผลิตกรดในกระเพาะอาหาร

5.2. ประเภทA

5.2.1. กระเพาะอาหารลีบ

5.2.1.1. การลดกรด

5.2.1.1.1. โรคโลหิตจางที่เป็นอันตราย

5.3. เรื้อรัง

5.3.1. ผู้สูงอายุ

5.3.2. ประเภทB

5.3.2.1. antrum ของกระเพาะอาหาร

5.3.2.2. พบได้ทั่วไปมากกว่าประเภท A

5.3.2.3. ระดับกรดสูงกว่าปกติ

5.3.2.3.1. แผลที่ลำไส้เล็กส่วนต้น

5.3.2.4. สามารถนำไปสู่มะเร็งกระเพาะอาหาร

6. ระบาดวิทยา

6.1. ยา

6.1.1. NSAIDS

6.2. ติดเชื้อ

6.2.1. H. Pylori

6.3. โรคภูมิต้านทานผิดปกติ

7. การวินิจฉัยโรค

7.1. การประเมินผล

7.2. การส่องกล้อง

7.3. การทดสอบในห้องปฏิบัติการ

7.3.1. ระดับแอนติเจนอุจจาระ

8. nursing Diagnosis&Intervention

8.1. (เด็กมีอาการถ่ายเหลว) diarrhea r/t infectious process

8.2. (เด็กมีอาการอาเจียนมากกว่า 10ครั้ง ) risk for fluid volume deficit r/t vomiting

8.3. (เด็กรับประทานอาหารได้น้อยเนื้องจากอาเจียน) imbalanced nutrition less than body requirements r / t inadequate intake