บทที่ 1 นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 1 นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา by Mind Map: บทที่ 1 นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

1. Learning Theory Matrix

1.1. เป็นการจัดระบบความคิดทางทฤษฎีการเรียนรู้

1.2. การเรียนรู้เกิดจากการตัดสินใจของผู้เรียนที่จะเลือกสรร ทรัพยากรการเรียนรู้ต่างๆ ที่อยู่รอบตัว (Networking) และนำข้อมูล สารสนเทศ องค์ความรู้ ต่างๆ เหล่านั้น มารวบรวม เปรียบเทียบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ คัดกรอง ร้อยเรียงให้เกิดเป็นสารัตถะที่มีความหมาย สำหรับตัวผู้เรียนเอง

1.3. การจัดระบบความคิดเกี่ยวกับทฤษฎี

2. ชอบเรียนรู้จากการได้ฟัง/ได้ยิน เช่น การอธิปราย พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือการฟังผ่านสื่อต่างๆ

3. สังคม/ชุมชน นำ (Community led)

3.1. เป็นการเรียนรู้ในรูปแบบ Constructivism ผู้สอนมีบทบาทในการสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ มีการแบ่งงานในกลุ่มอย่างเป็นระบบ

4. การเรียนรู้เกิด จากการลงมือกระทำของผู้เรียน (Learning By Doing) ภายใต้กิจกรรมการเรียนรู้ หรือ สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ที่ผู้สอนเป็นผู้ออกแบบไว้ให้ล่วงหน้า โดยที่ผู้สอนเป็นผู้ที่มีความส าคัญในการออกแบบการ สอนที่ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

5. เกิดขึ้นจากความเชื่อที่ว่า ทฤษฎีดั้งเดิมที่เกิดขึ้นก่อนหน้ายุคดิจิตอล ไม่สามารถตอบสนองต่อผู้เรียนยุคใหม่ ที่เติบโตขึ้นท่ามกลางการพัฒนาของเทคโนโลยีต่างๆ ที่อยู่รายล้อมตัวผู้เรียน

6. การเรียนรู้เกิดจากการตัดสินใจของผู้เรียนที่จะเลือกสรร ทรัพยากรการเรียนรู้ต่างๆ ที่อยู่รอบตัว และนาข้อมูล สารสนเทศ องค์ความรู้ ต่างๆ เหล่านั้น มารวบรวม เปรียบเทียบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ คัดกรอง ร้อยเรียงให้เกิดเป็นสารัตถะที่มีความหมายสาหรับตัวผู้เรียนเอง

6.1. เชื่อว่าผู้เรียนที่จะเรียนได้ดี จาการได้รับ ข้อมูล เนื้อหา สารัตถะ ต่างๆจากผู้สอน

7. การเรียนแบบครูนำ (Teacher led)

7.1. เป็นวิธีการสอนที่ครูมีบทบาทเป็นผู้นำ ผู้เรียนจะเป็นผู้รับฟังอย่างเดียว

8. เกิดจากความเชื่อที่ว่า ผู้เรียนที่จะเรียนรู้ได้ดี จากการได้รับ ข้อมูล เนื้อหา สารัตถะ ต่างๆ จากผู้สอน

9. การเรียนรู้เกิดจาก ประสบการณ์ในการลงมือกระทาของผู้เรียน (Learning By Doing) ภายใต้กิจกรรมการเรียนรู้ หรือ สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ที่ผู้สอนเป็นผู้ออกแบบไว้ให้ล่วงหน้า โดยที่ผู้สอนเป็นผู้ที่มีความสาคัญในการออกแบบการสอนที่ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

10. รูปแบบการเรียนรู้ (Learning Style)

10.1. ลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่ผู้เรียนแต่ละคนชอบและใช้เป็นประจำ

10.2. ผู้ที่เรียนรู้ได้ดีผ่านประสาทหู

10.2.1. ใช้เครื่องบันทึกเสียงการบรรยายดีกว่าการจดโน๊ตย่อ

10.2.2. เขียนคำกล่าวรายงานและหน้าชั้นเรียนบ่อยๆ

10.2.3. เวลาอ่าหนังสือให้อ่านออกเสียงเพื่อช่วยในการจำมากยิ่งขึ้น

10.3. แบ่งเป็นกี่ประเภท

10.3.1. ผู้ที่เรียนรู้ได้ดีผ่านทางการอ่านและเขียน Read and write learner

10.3.1.1. คือ ผู้เรียนที่ชอบที่จะเรียนรู้และจดจำสิ่งต่างๆ โดยผ่านการอ่านและการเขียน

10.3.2. ผู้ที่เรียนรู้ได้ดีผ่านทางร่างกายและความรู้สึก

10.3.2.1. ชอบเรียนรู้จากการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น การสัมผัส

10.3.3. ผู้ที่เรียนรู้ได้ดีผ่านประสาทตา

10.3.3.1. คือผู้เรียนที่ชอบเรียนรู้จากการได้ดู มองเห็นกริยาท่าทางของผู้สอนหรือสื่ออื่นๆ

11. ทฤษฎีการเรียนรู้หลักที่สำคัญ

11.1. ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism)

11.2. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม(Behaviorism)

11.3. ทฤษฎีคอนเนคติวิสต์

11.4. ทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์

12. New models of learning

12.1. ทฤษฎีนี้ เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดจากการลงมือทำของผู้เรียน ภายใต้กิจกรรมการเรียนรู้ หรือสิ่งแวดล้อม

12.2. ผู้เรียนเป็นผู้นำ/ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner led)

12.2.1. ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้สอนจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน

13. นวัฒกรรมที่เกิดขึ้น เป็นสิ่งใหม่ๆที่ยังไม่ถูกนำมาใช้ ต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจ

13.1. Innovator

13.2. กลุ่มคนที่พร้อมจะเปลี่ยนแปลงตนเองเมื่อเห็นคนอื่นมองประโยชน์จากนวัฒกรรมหรือเทรนด์ใหม่ๆ

14. IT for Education กับ ทฤษฏีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)

14.1. เกิดจากความเชื่อว่าผู้เรียนจะเรียนรู้ได้ดี จากการรับข้อมูล เนื้อหาจากผู้สอน

14.2. ทฤษฎีนี้เชื่อ ว่าการได้ลงมือปฏิบัติซ้าๆ (Repetition) ในการทำกิจกรรม ทำแบบฝึกหัด จะทำให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทน โดยมากวิธีการสอนที่ใช้จะเป็นวิธีการสอนแบบสอนตรง บรรยาย อธิบาย

15. นวัตกรรมคืออะไร?

15.1. การพัฒนา

15.2. ดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น

15.3. การประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆ

15.4. แนวคิดใหม่

16. รูปแบบการเผยแพร่นวัตกรรม

16.1. แบ่งเป็นกี่ชนิด

16.1.1. Early Adopters

16.1.1.1. กลุ่มคนที่พร้อมเปลี่ยนแปลง

16.1.1.2. กลุ่มที่อยากใช้หรืออยากลองนวัตกรรม ที่เกิดขึ้นใหม่ๆ

16.1.1.3. คนที่เปลี่ยนแปลงตนเอง เมื่อเห็นคนอื่นเริ่มใช้

16.1.2. Early Majority

16.1.2.1. กลุ่มที่พร้อมจะเปลี่ยนแปลงตัวเองเมื่อเห็นคนอื่นเริ่มใช้และมองเห็นประโยชน์จากนวัตกรรม

16.1.2.2. คนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงตนเอง มัก พอใจกับสิ่งที่ตัวเองมีอยู่แล้วและไม่เชื่อในเรื่องเทคโนโลยีใหม่ๆ

16.1.3. Late Majority

16.1.3.1. กลุ่มคนที่จะเปลี่ยนแปลงช้าที่สุด

16.1.4. Laggards

16.1.4.1. กลุ่มคนที่ล้าหลัง มักเป็นกลุ่มผู้มีอายุ

17. IT for Education x Learning Theory

17.1. IT for Education กับ ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism)

17.1.1. เกิดจากความสนใจในเรื่องของกระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน

17.2. IT for Education กับ ทฤษฎีคอนเนคติวิสต์ (Connectivism)

17.2.1. เกิดจากความเชื่อที่ว่า ทฤษฎีดั้งเดิมเกิดก่อนที่ยุค

17.3. เช่น การสอนแบบโครงงานเป็นฐาน การสอนแบบปัญหาเป็นฐาน

17.4. IT for Education กับ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism)

18. Next-Generation of Teachers

18.1. C-Content

18.1.1. ความเชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ที่ตนเองรับผิดชอบในการสอนนั่นเอง Content ถือเป็นลักษณะที่จำเป็นอย่างที่สุด และขาดไม่ได้สำหรับผู้สอน

18.2. C-Computer (ICT) Integration

18.2.1. การที่ผู้สอนควรที่จะมีการฝึกฝนทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ ในการบูรณาการกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน

18.3. Constructionist

18.4. Connectivity

18.4.1. การที่ครูผู้สอนมีทักษะในการจัดกิจกรรม ที่เชื่อมโยงระหว่างผู้เรียนกับเพื่อนและผู้สอน ทั้งในชั้นเรียนเดียวกัน สถานศึกษาเดียวกัน และ/ หรือต่างสถานศึกษา หรือเชื่อมโยงกับ สถานศึกษา บ้าน และ / หรือชุมชน เข้าเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของผู้เรียน

18.4.2. การที่ผู้สอนเป็นผู้สร้างความรู้ใหม่ หรือ มีความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดในเรื่อง constructionism ซึ่งมุ่งเน้นแนวคิดที่ว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้นั้น เป็นเรื่องภายในของตัวบุคคล จากการที่ได้ลงมือสร้างทำกิจกรรมใดๆ ที่ทำให้เกิดการสร้างความรู้ใหม่ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์

18.5. Collaboration

18.5.1. การที่ครูผู้สอนมีความสามารถในการเรียนรู้ แบบร่วมมือกันกับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

18.6. Communication

18.6.1. การที่ครูผู้สอนมีทักษะในการสื่อสาร กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสื่อสารให้มีประสิทธิภาพไม่ได้หมายถึง เฉพาะการพัฒนาให้เกิดทักษะของเทคนิคการสื่อสารที่ดี

18.7. Creativity

18.7.1. การที่ครูผู้สอนจะต้องเป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ออกแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ ที่เอื้อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน ผู้สอนจะได้รับการคาดหวังให้สามารถที่จะรังสรรค์ กิจกรรมใหม่ๆ ต่างๆ ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน

18.8. Critical Thinking

18.8.1. การที่ครูผู้สอนจะต้องเป็นผู้ที่มีความคิดเชิงวิพากษ์สามารถนำไปใช้ได้หรือเกี่ยวข้องกับปัญหานั้นๆ สามารถตั้งคำถามที่เหมาะสมเพื่อให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ สามารถแยกแยะระหว่างความจริงและความเห็น

18.9. Caring

18.9.1. การที่ครูผู้สอนจะต้องมี ความรัก ความปรารถนาดี และความห่วงใยอย่างจริงใจแก่ผู้เรียน