สารสนเทศท้องถิ่น

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สารสนเทศท้องถิ่น by Mind Map: สารสนเทศท้องถิ่น

1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น

1.1. ความรอบรู้ของชาวบ้านที่เรียนรู้ และมีประสบการณ์สืบต่อกันมาทั้งทางตรง คือ ประสบการณ์ด้วยตนเองหรือทางอ้อมซึ่ง เรียนรู้จากผู้ใหญ่ หรือความรู้สะสมที่สืบต่อกันมา

1.2. ความรู้และมวลประสบการณ์ ของชาวบ้าน ที่ใช้ในการด าเนินชีวิตให้เป็ นสุข โดยได้รับการถ่ายทอด สั่งสมกันมาผ่าน กระบวนการพัฒนาให้สอดคล้องกับกาลสมัย

2. ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการทำมาหากิน

3. ความสำคัญของสารสนเทศท้องถิ่น

3.1. ด้านการศึกษา - คลังความรู้ - ส่งเสริม สนับสนุน การค้นคว้าวิจัยเพื่อสร้างองค์ ความรู้และสิ่งประดิษฐ์

3.2. ด้านเศรษฐกิจ - การประกอบอาชีพ การพึ่งพาตนเอง - การสร้างเศรษฐกิจชุมชน - การส่งออก

3.3. ด้านสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม - การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ความสามัคคี ปรองดอง - การอนุรักษ์ การสืบทอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น - การสร้างจิตสำนึกรักชุมชน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

4. ความหมายของสารสนเทศท้องถิ่น

4.1. ข้อมูล ความรู้ ข้อเท็จจริง และความคิดต่างๆ ของชาวบ้านในท้องถิ่นที่มีการสื่อสารบันทึกจัดพิมพ์ เพื่อเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อถ่ายทอดไปยังบุคคลอื่นสำหรับใช้เป็นประโยชน์ต่อไป

5. ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น

5.1. ประเภทของสารสนเทศ ท้องถิ่น แบ่งออกเป็ น 9 ด้านดังนี้

5.2. 1. ด้านการเกษตรกรรม

5.3. 2. ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

5.4. 3. ด้านการแพทย

5.5. 4. ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

5.6. 5. ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน

5.7. 6. ด้านศิลปกรรม

5.8. 7. ด้านภาษาและวรรณกรรม

5.9. 8. ด้านปรัชญา ศาสนา และประเพณ

5.10. 9. ด้านโภชนาการ