อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล PERSONAL PROTECTIVE EQUIPMENT (PPE)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล PERSONAL PROTECTIVE EQUIPMENT (PPE) by Mind Map: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล   PERSONAL PROTECTIVE EQUIPMENT (PPE)

1. ชนิดของอุปกรณ์ป้องกันระบบการได้ยิน

1.1. ที่ครอบหู (Ear muffs)

2. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายระบบการได้ยิน (Hearing protection devices)

2.1. ปลั๊กอุดหู (Ear plugs)

2.1.1. ทั้งชนิดใช้แล้วทิ้ง และชนิดที่สามารถนำกลับ มาใช้ใหม่ได้

2.2. วิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุปกรณ์ป้องกันระบบการได้ยิน

2.2.1. ที่ครอบหู (Ear muffs)

2.2.1.1. เก็บรวบผมให้เรียบร้อยไม่ให้ปิดบังบริเวณใบหู

2.2.1.2. กางที่ครอบหูออกให้มีขนาดพอเหมาะกับศีรษะ

2.2.1.3. สวมที่ครอบหูและปรับให้พอดีกับใบหู

2.3. การบำรุงรักษาอุปกรณ์ อุปกรณ์ป้องกันระบบการ ได้ยิน

2.3.1. ทำความสะอาดทุกครั้งหลังใช้งาน

2.3.2. ไม่เก็บไว้ที่มีอุณหภูมิสูง

2.3.3. ใช้เป็นของเฉพาะแต่ละบุคคล

3. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเท้า (Foot protection devices)

3.1. ชนิดของอุปกรณ์ป้องกัน อันตราย ของเท้า

3.1.1. รองเท้านิรภัย (Lather Safety Footwear/ Safety Shoe)

3.2. วิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ของเท้า

3.3. การบำรุงรักษาอุปกรณ์ป้องกัน อันตรายของเท้า

3.3.1. การใช้งานสามารถเลือกใช้ได้ในการปฏิบัติงานทุกงานที่อาจมีอันตรายเกิดขึ้นกับเท้าของผู้ปฏิบัติ เช่นงานก่อสร้าง งานที่อาจมีอุบัติเหตุเกี่ยวกับวัสดุหล่นทับ การบาด การทะลุผ่าน งานที่วัสดุทิ่มแทง สารเคมี รวมถึงอันตรายจากกระแสไฟฟ้า และควรสวมใส่ตลอดการทำงาน

3.3.1.1. การบำรุงรักษาต้องทำความสะอาดด้านนอกด้วยน้ำธรรมดา/สบู่ เช็ดให้แห้งแล้ววางให้แห้ง หรือผึ่งแดดก็ได้ ควรทำความสะอาดอย่างน้อยทุกสัปดาห์

3.3.2. การบำรุงรักษาต้องทำความสะอาดด้านนอกด้วยน้ำธรรมดา/สบู่ เช็ดให้แห้งแล้ววางให้แห้ง หรือผึ่งแดดก็ได้ ควรทำความสะอาดอย่างน้อยทุกสัปดาห์

3.3.2.1. การใช้งานสามารถเลือกใช้ได้ในการปฏิบัติงานทุกงานที่อาจมีอันตรายเกิดขึ้นกับเท้าของผู้ปฏิบัติ เช่นงานก่อสร้าง งานที่อาจมีอุบัติเหตุเกี่ยวกับวัสดุหล่นทับ การบาด การทะลุผ่าน งานที่วัสดุทิ่มแทง สารเคมี รวมถึงอันตรายจากกระแสไฟฟ้า และควรสวมใส่ตลอดการทำงาน

3.4. ปลั๊กอุดหู (Ear plugs)

4. กฎหมาย

4.1. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการทำงาน พ.ศ. 2554

4.2. กฎหมายลำดับรองที่เกี่ยวข้องกับ PPE

5. วิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุปกรณ์ป้องกันอันตรายใบหน้าและดวงตา

5.1. ควรเลือกให้เหมาะสมตามลักษณะการใช้งานหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น

5.2. ตรวจสอบสภาพโดยทั่วไป เช่น เลนส์ ขาแว่น สายรัด กรอบแว่น กระบังหน้า/กระบังข้าง ต้องอยู่ในสภาพที่ดี ไม่มีรอยรั่ว รอยแตก หรือมีการพร่ามัวของเลนส์

5.3. ขณะสวมใส่ต้องมีความกระชับ แน่น ไม่หลวมหรือหลุดขณะทำงาน

5.4. ผู้ใช้งานที่มีปัญหาสายตาต้องสวมแว่น/คอนแทคเลนส์ก่อนใส่อุปกรณ์

6. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่ศีรษะ (Head protection devices)

6.1. ชนิดของอุปกรณ์ป้องกันศีรษะ

6.1.1. หมวกนิรภัยชนิด E (Electrical Helmet)

6.1.2. หมวกนิรภัยชนิด G (General Helmet)

6.1.3. หมวกนิรภัยชนิด C (Conductive Helmet)

6.2. วิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ

6.2.1. ก่อนใช้งานต้องตรวจสอบหมวกนิรภัย ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดหรือไม่

6.2.2. ตรวจสอบลักษณะทางกายภาพภายนอก

6.2.3. เมื่อสวมใส่ต้องปรับสายรัดศีรษะและคางให้พอดีกับผู้ใช้งาน

6.2.4. ทำการทดสอบความกระชับของหมวก โดยให้ก้มลงคำนับตัวเอง ถ้าหมวกตกแสดงว่าไม่กระชับ ต้องทำการปรับสายรัดใหม่

6.3. การบำรุงรักษาอุปกรณ์ป้องกันศีรษะ

6.3.1. การทำความสะอาดทั้งตัวหมวกและอุปกรณ์ โดยใช้น้ำ น้ำสบู่ หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 – 3 ครั้ง หรือทุกวัน โดยเฉพาะบริเวณแถบซับเหงื่อ

6.3.2. ตรวจสอบการชำรุดของอุปกรณ์

7. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายใบหน้าและดวงตา (Eyes and face protection devices)

7.1. ชนิดของ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายใบหน้าและดวงตา

7.1.1. แว่นตา (Spectacles or Glasses)

7.1.2. แว่นครอบตา (Goggles)

7.1.3. กระบังป้องกันใบหน้า (Face Shield)

7.1.4. หน้ากากสำหรับเชื่อม (Welding Shields)

7.2. การบำรุงรักษาอุปกรณ์ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายใบหน้าและดวงตา

7.2.1. ทำความสะอาดทุกครั้งหลังจากการใช้งาน โดยใช้น้ำสบู่เช็ดทำความสะอาด แล้วผึ่งแดด

7.2.2. ตรวจสอบอุปกรณ์ ถ้ามีการชำรุดให้เปลี่ยนอุปกรณ์

8. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่มือและผิวหนัง (Hand and skin protection devices)

8.1. ชนิดของอุปกรณ์ป้องกัน อันตรายที่มือและผิว

8.1.1. ถุงมือ (gloves)

8.1.1.1. ถุงมือผ้า

8.1.1.2. ถุงมือป้องกันไฟฟ้า

8.1.1.3. ถุงมือป้องกันอุณหภูมิ

8.1.1.4. ถุงมือป้องกันรังสี

8.1.1.5. ถุงมือยาง

8.1.1.6. ถุงมือหนัง

8.1.1.7. ถุงมือตาข่ายลวด

8.1.2. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่ลำตัว (Body Protection Devices)

8.1.2.1. ชุดป้องกันสารเคมี

8.1.2.2. ชุดป้องกันความร้อน

8.2. วิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่มือและผิว

8.2.1. ควรเลือกอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับลักษณะงานหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทำงาน

8.2.2. วิธีทดสอบความสามารถในการซึมผ่านถุงมือ โดยการกลับถุงมือให้ด้านนอกให้อยู่ด้านใน แล้วเทสารเคมีลงไป ทิ้งไว้ 10 – 15 นาที ถ้าสารเคมีซึมผ่านได้ แสดงว่าถุงมือไม่เหมาะสมกับสารเคมีนั้น

8.2.2.1. อ่านคู่มือและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด และตรวจสอบสภาพโดยทั่วไป ต้องอยู่ในสภาพดี ไม่ฉีกขาด แตก หรือสกปรก

8.3. การบำรุงรักษาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่มือผิว

8.3.1. ทำความสะอาดทุกครั้งหลังจากการใช้งาน โดยใช้น้ำสบู่ หรือน้ำเปล่า หรือตามวิธีการตามที่ผู้ผลิตแนะนำ ผึ่งลมให้แห้ง และเก็บในที่สะอาด

8.3.2. ถ้าอุปกรณ์ชำรุดให้เปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่