กลยุทธ์ Strategy

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
กลยุทธ์ Strategy by Mind Map: กลยุทธ์ Strategy

1. การนำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ

1.1. 1.แผนปฏิบัติการ

1.1.1. เพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งรายละเอียดของทรัพยากรที่ต้องใช้และช่วงเวลาที่ต้องทำให้สำเร็จเมื่อกำหนดวัตถุประสงค์

1.1.2. วัตถุประสงค์ในการจัดทำแผนปฏิบัติการ

1.1.2.1. 1. ลดความไม่แน่นอนและปัญหา

1.1.2.2. 2. ทำให้เกิดการยอมรับแนวความคิดใหม่ๆ

1.1.2.3. 3.ทำให้องค์กรบรรลุถึงเป้าหมาย

1.1.2.4. 4. ลดความสูญเปล่าของหน่วยงานที่ซ้ำซ้อนกัน

1.1.3. การจัดทำแผนปฏิบัติการ

1.1.3.1. 1. วิเคราะห์ประเด็นกลยุทธ์/กลยุทธ์/โครงการ/กิจกรรมที่กำหนดพัฒนาคุณภาพ

1.1.3.2. 2. วิเคราะห์ภารกิจงานประจำตามโครงสร้าง

1.1.3.3. 3. วิเคราะห์งานตามนโยบายของหน่วยงานระดับเหนือมากำหนดเป็นกิจกรรม

1.2. 2.การนำแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ

1.2.1. เป็นการปฏิบัติงานตามที่ได้กำหนดไว้ในแผนงานหรือโครงการเพื่อให้งานที่กำหนดไว้ในแผนบรรลุเป้าหมายผู้บริหารควรมีกลวิธีในขั้นการนำแผนไปปฏิบัติ การดำเนินการ

1.3. 3.การจัดสรรทรัพยากร

1.3.1. เป็นการบริหารจัดการเงิน แสดงโครงการดำเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่ง รวมถึงการกะประมาณการบริหารกิจกรรม โครงการ และค่าใช้จ่าย ตลอดจนทรัพยากรที่จำเป็นในการสนับสนุน

1.3.2. การใช้ทรัพยากรหรืองบประมาณที่มีอยู่จำกัดให้มี ประสทธิภาพและประหยัด

1.3.2.1. 1.ให้มีการจัดแผนงาน งาน หรือโครงการเป็นระบบขึ้นมา

1.3.2.2. 2.ให้มีการระบุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแผนงาน งานให้ชัดเจน

1.3.2.3. 3.ให้แสดงค่าใช้จ่ายทั้งหมดของแผนงาน งานหรือโครงการ

1.3.2.4. 4.ให้แสดงถึงผลที่ได้รับจากแผนงาน เมื่อสำเร็จเสร็จเรียบร้อย

1.3.2.5. 5.ให้มีการวิเคราะห์เลือกแผนงาน ว่ามีความเหมาะสมที่จะดำเนินการก่อนหลังกันอย่างไร

1.3.3. วัตถุประสงค์

1.3.3.1. 1.เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการด้านงบประมาณของคณะอย่างมีประสิทธิภาพ

1.3.3.2. 2.เพื่อสร้างกลไกที่มีประสิทธิภาพในการจัดหางบประมาณการใช้จ่าย

1.3.3.3. 3.เพื่อให้การบริหารจัดการด้านงบประมาณมีเป้าหมายชัดเจนและปฏิบัติได้

1.3.3.4. 4.มีการติดตามผลและนำไปปรับปรุงการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

1.4. 4.แผนด้านบุคลากร

1.4.1. ทำให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการทั้งระยะสั้นและระยะยาว แผนมีผลกระทบต่อบุคลากร และความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นที่เกี่ยวกับความต้องการด้านขีดความสามารถ และอัตรากำลังบุคลากร

1.4.1.1. ตัวอย่างองค์ประกอบของแผนด้านทรัพยากรบุคคล

1.4.1.1.1. การจัดโครงสร้างใหม่ของงาน / การริเริ่มส่งเสริมความร่วมมือ / การพิจารณาถึงผลกระทบ / การแบ่งปันความรู้และการเรียนรู้ขององค์กร / การปรับเปลี่ยนระบบการบริหาร / การริเริ่มการให้การศึกษาและฝึกอบรม

1.5. 5.ตัววัดผลการดำเนินการ

1.5.1. ใช้ติดตามผลลัพธ์และประสิทธิผลของแผนปฏิบัติการ ทำให้มั่นใจว่าระบบของแผนปฏิบัติการจะสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน เพื่อทำให้มั่นใจว่าระบบการวัดผลครอบคลุมเรื่องที่ถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญๆ ทั้งหมด

1.6. 6.การคาดการณ์ผลการดำเนินการ

1.6.1. การคาดการณ์ผลการดำเนินการตามกรอบเวลาของการวางแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาวขององค์กรตามตัววัดหรือตัวชี้วัดผลการดำเนินการที่สำคัญ เพื่อทำนายผลการดำเนินการล่วงหน้า เมื่อคาดการณ์ว่าแผนปฏิบัติการที่ทำมาจะไม่ประสบความสำเร็จก็จะมีการปรับเปลี่ยนแผนการดำเนินการ เพื่อให้ไปถึงเป้าหมาย

2. การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ

2.1. องค์กรมีวิธีการในการปรับเปลี่ยนและนำแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติในกรณีที่สถานการณ์บังคับให้ต้องปรับแผนและนำไปปฏิบัติอย่างรวดเร็ว

2.2. วิธีการดำเนินการปรับเปลี่ยนแผน

2.2.1. สถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป / วิเคราะห์ความจำเป็นในการปรับแผน / ถ่ายทอดแผนที่ปรับเปลี่ยน / ปฏิบัติตามแผนใหม่ / ติดตามประเมินผล (หากสถานการณ์เปลี่ยน วิเคราะห์ใหม่)

3. การวางแผนกลยุทธ์

3.1. ขั้นตอนการวางแผนเชิงกลยุทธ์

3.1.1. 1. กำหนดเป้าหมายและพันธกิจ

3.1.2. 2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและปัจจัย(SWOT)

3.1.3. 3. การกำหนดแผนและกลยุทธ์

3.1.4. 4. นำแผนและกลยุทธ์ไปปฏิบัติ

3.1.5. 5. ควบคุมและประเมินผล

3.2. วัตถุประสงค์เพื่อกำหนดทิศทางในการดำเนินงานขององค์กรใน ระยะยาว

3.3. โอกาสเชิงกลยุทธ์

3.3.1. ภาพอนาคตที่เกิดจากการคิดนอกกรอบ การระดมสมอง การใช้ประโยชน์จากความบังเอิญ กระบวนการวิจัยและสร้างนวัตกรรม การประมาณการอย่างฉีกแนวจากสภาพปัจจุบัน และแนวทางอื่นๆ เพื่อมองอนาคตที่แตกต่างออกไปจากเดิม

3.3.2. การเกิดความคิดที่นำไปสู่โอกาสเชิงกลยุทธ์ มักเกิดจากสภาพแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดความคิดอย่างอิสระโดยไม่ถูกชี้นำ

3.3.3. ต้องพิจารณาถึงความเสี่ยงสัมพัทธ์ (Relative Risk) ด้านภาระการเงิน และด้านอื่นๆ จากนั้นจึงตัดสินใจอย่างรอบคอบ (ความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด – Intelligent Risks)

3.4. สมรรถนะหลักขององค์กร

3.4.1. หมายถึง เรื่องที่องค์กรมีความชำนาญที่สุด

3.4.2. เป็นขีดความสามารถที่สำคัญเชิงกลยุทธ์

3.4.3. เป็นแกนหลักที่ทำให้องค์กรบรรลุพันธกิจ

3.4.4. สร้างความได้เปรียบในตลาดให้แก่องค์กร

4. วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์

4.1. เป้าประสงค์หรือเจตจำนง

4.1.1. 1. ทำอะไร Mission

4.1.2. 2.ให้เป็นอย่างไร Vision

4.1.3. 3.วิธีการ Mean

4.1.4. 4.ผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการ End

4.2. การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

4.2.1. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ขององค์กร สามารถสร้างสมดุลที่เหมาะสมระหว่างความต้องการที่ หลากหลายและแข่งขันกันเองในองค์กรได้อย่างไร? ตอบสนองความท้าทาย และความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์อย่างไร?

4.2.1.1. ตอบสนองโอกาสในการสร้างนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ การปฏิบัติการ และรูปแบบการดำเนินธุรกิจ/บริการ

4.2.1.2. -ใช้ประโยชน์จากสมรรถนะหลักขององค์กรในปัจจุบัน -ให้ความสำคัญต่อ สมรรถนะหลักขององค์กร (core competencies) ใหม่ที่อาจต้องการ

4.2.1.3. สร้างสมดุลระหว่างความท้าทายและโอกาสในระยะสั้นและระยะยาว คำนึงถึงและสร้างสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญทั้งหมด ยกระดับความสามารถขององค์กรในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในตลาด

4.3. การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในด้านผู้ส่งมอบและพันธมิตร และการปฏิบัติการที่ได้วางแผนไว้มีอะไรบ้าง

4.3.1. ความสำเร็จของแผนปฏิบัติการขึ้นอยู่กับทรัพยากรและตัววัดผลการดำเนินการ รวมทั้งความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันของหน่วยงานผู้ส่งมอบ และพันมิตร

4.4. การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในด้านผลิตภัณฑ์ ลูกค้าและตลาดได้วางแผนไว้มีอะไรบ้าง

4.4.1. สรุปผลการดำเนินการที่สำคัญด้านผลิตภัณฑ์ ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกระบวนการ รวมถึงกระบวนกรต่างๆ ที่ตอบสนองโดยตรงต่อลูกค้ากลยุทธ์ และการปฏิบัติการ

4.5. 1.คุณลักษณะของงาน(Attributes) 2.เครื่องชี้วัด(index) 3.เป้าหมาย(Target) 4.ห้วงเวลา(Time frame)