Get Started. It's Free
or sign up with your email address
TAH with BSO by Mind Map: TAH with BSO

1. ภาวะเลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก (Abnormal Uterine Bleeding)

2. การตัดมดลูกที่เอารังไข่ออกไปด้วยทั้ง 2 ข้าง

2.1. วิธีการนี้จะทำให้ร่างกายขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน เหมือนกับคนที่หมดระดูแล้ว

2.1.1. ทำให้เกิด “ภาวะวัยทอง” (MENOPAUSE)

2.1.1.1. ร้อนวูบวาบเนื้อตัว

2.1.1.2. นอนไม่หลับ

2.1.1.3. อารมณ์แปรปรวน

2.1.1.4. เหนื่อยอ่อน

2.1.1.5. อาการซึมเศร้า

2.1.1.6. ภาวะกระดูกบาง

2.1.2. การป้องกันคือการได้ฮอร์โมนเอสโตรเจนทดแทนซึ่งมีทั้งชนิด รับประทาน และครีมทาผิว การออกกำลังกายและการรับประทานแคลเซียมเสริม ก็มีส่วนสำคัญในการป้องกันกระดูกพรุน

2.1.2.1. หลักการคือให้เร็วที่สุดขนาดยาที่พอเหมาะและให้นานที่สุด

2.2. เมื่อทำการผ่าตัดแล้ว ผู้ป่วยจะไม่สามารถตั้งครรภ์ได้อีก และไม่มีความจำเป็นที่ต้องใช้วิธีคุมกำเนิดใด ๆ

3. เพศสัมพันธ์หลังการผ่าตัด

3.1. หลังจากการตรวงหลังการผ่าตัด6สัปดาห์และหลังจากสิ่งคัดหลั่งจากช่องคลอดหยุดแล้วสามารถมีเพศสัมพันธ์ได้

4. Total Abdominal Hysterectomy-Bilateral Salpingo-Oopherectomy

4.1. มักจะทำในกรณีที่อายุมากแล้ว รังไข่หมดหน้าที่แล้ว หรือรังไข่มีพยาธิสภาพ หรือมีเนื้องอกมะเร็งที่อื่น ที่ฮอร์โมนเอสโตรเจน จะไปทำให้มันลุกลามมากขึ้น

5. ข้อบ่งชี้การผ่าตัดในการผ่าตัด

5.1. ภาวะติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน (Pelvic Inflammatory Disease: PID) ซึ่งเป็นการติดเชื้อที่รุนแรงและสร้างความเสียหายให้แก่อวัยวะในระบบสืบพันธุ์ได้ โดยจะผ่าตัดรักษาต่อเมื่อผ่านการรักษาด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล

5.2. ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (Endometriosis) สร้างความเจ็บปวดเมื่อมีประจำเดือน

5.3. ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกแทรกเข้าไปฝังตัวในกล้ามเนื้อของผนังมดลูก (Adenomyosis)

5.4. เนื้องอกในมดลูก (Fibroids) เป็นก้อนเนื้อที่เกิดขึ้นและเจริญเติบโตภายในมดลูก ซึ่งอาจทำให้มีประจำเดือนมามากผิดปกติ

5.5. ภาวะอุ้งเชิงกรานหย่อนเนื่องจากมดลูกหย่อนลงมาในช่องคลอด (Uterine Prolapse)

5.6. ภาวะเนื้อเยื่อปากมดลูกเจริญเติบโตผิดปกติ (Cervical Dysplasia) ซึ่งเป็นระยะก่อนมะเร็งปากมดลูก

5.7. การผ่าตัดมดลูกฉุกเฉินหลังการทำคลอดแล้วมีภาวะเลือดออกที่ไม่สามารถควบคุมได้

5.8. มะเร็งมดลูก มะเร็งปากมดลูก หรือมะเร็งรังไข่

6. กายภาควิภาคสรีระ

6.1. มดลูก (Uterus)

6.1.1. มีลักษณะเป็นเหมือนผลแพร์ (pear shaped)

6.1.2. มดลูกประกอบดว้ยชั้นกลา้มเน้ือที่สำคัญ 3 ชั้น

6.1.2.1. Serosal layer (perimetrium)

6.1.2.1.1. ที่ปกคลุมด้านนอกของ มดลูก

6.1.2.2. Muscular layer (Myometrium)

6.1.2.2.1. ชั้นกลางของกล้ามเนื้อมดลูก

6.1.2.3. Mucosal layer (Endometrium)

6.1.2.3.1. เป็นชั้นของ mucous membrane ปกคลุมโพรง ด้านในของมดลูก (uterine cavity)

6.1.3. อยู่บริเวณด้านหลงัของกระดูกหัวหน่าวและกระเพาะปัสสาวะอยเู่หนือช่องคลอดและ ด้านหน้าทวารหนก

6.1.4. มดลูกมีการเปลี่ยนแปลงตามฮอร์โมนเพศนั่นคือเยื่อบุภายในโพรงมดลูก (endometrium)จะหนาตัวขึ้นเมื่อถูกกระตุ้นจากฮอร์โมนเพื่อเตรียมรับการฝังตวัของไข่ที่ถูกผสมแล้ว (a fertilized ovum) หากไม่มีการฝังตัวเยื่อบุนี้จะหลุดลอกออกมากลายเป็นระดู

6.2. รังไข่(Ovaries)

6.2.1. อวัยวะส่วนนี้ประกอบด้วยกล้ามเนื้อconnective tissue, muscle cells และ elastic tissue

6.2.2. เป็นส่วนที่เชื่อมต่อระหว่างมดลูกและช่องคลอด

6.2.3. มีลักษณะคลา้ยถั่วอัลมอนต์(almond shaped) ผิวขรุขระเล็กน้อย

6.2.4. มีอยู่สองข้างของ มดลูก

6.2.5. ตำแหน่งของรังไข่จะแปรเปลี่ยนตามอายุของสตรี

6.2.6. รังไข่ถูกยึดไว้ด้วยเส้นเอ็น 3 เส้น

6.2.6.1. Mesovarium ligament ทำหน้าที่ยึดรังไข่ให้ต่อกับด้านหลังของ broad ligament

6.2.6.2. Ovarian ligament ทำหน้าที่ยึดรังไข่ต่อกับ มดลูก

6.2.6.3. Suspensory ligament ทำหน้าที่ยึดรังไข่ต่อกับด้านหลังของผนังอุ้งเชิงกราน

6.3. ปากมดลูก (cervix)

6.3.1. หน้าที่สำคัญของรังไข่คือ สร้างไข่ที่สมบูรณ์(mature ovum)

6.4. ท่อนำไข่(Fallopian tubes)

6.4.1. ทำหนา้ที่เป็นท่อที่พัดพาไข่มาผสมกับอสุจิและให้อาหารในช่วง 2-3 วนั ขณะที่ไข่ เดินทางอยู่ในท่อนำไข่รวมท้้งเตรียมพ้ืนที่ในการฝังตัวของไข่ ที่ถูกผสมแล้ว

6.4.2. ท่อนำไข่แต่ละข้างจะประกอบด้วยส่วนต่างๆ

6.4.2.1. Interstitial เป็นส่วนของท่อนำไข่ที่อยู่ภายในกล้ามเนื้อมดลูกจึงเป็นส่วนที่แคบที่สุด

6.4.2.2. Ampulla เป็นส่วนที่ต่อจากIsthmusออกไปทางด้านข้างและมีความกว้างมากที่สุด

6.4.2.3. Isthmus เป็นส่วนที่ต่อออกมาจากมดลูกและเป็นส่วนที่แคบที่สุดที่อยู่นอกมดลูก

6.4.2.4. Infundibulum และ Fimbria เป็นส่วนปลายท่อนำไข่ที่บานออกเปิดเข้าสู่เยื่อบุ ช่องท้อง ส่วนปลายสุดมีลักษณะแผ่กว้างคล้ายนิ้วมือเพื่อรับไข่ที่สุกแล้วในแต่ละรอบเดือน

6.4.3. มีลักษณะเป็นท่อยาวสองข้างที่เชื่อมต่อระหว่างรังไข่ (ovaries) และปีกมดลูก (fallopian tubes)

7. การผ่าตัดมดลูกผ่านทางช่องคลอด (Vaginal Hysterectomy)

8. วิธีการผ่าตัด

8.1. การผ่าตัดมดลูกผ่านหน้าท้องแบบปกติ (Abdominal Hysterectomy)

8.2. การผ่าตัดมดลูกผ่านกล้อง (Laparoscopic Hysterectomy)

9. การเตรียมตัวผ่าตัด

9.1. การเตรียมตัวก่อนผ่าตัด (Pre-operative care)

9.1.1. อธิบายข้อมูล และการปฏิบัติตนต่างๆ ที่ เกี่ยวกับการผ่าตัด ระยะเวลานอนโรงพยาบาล

9.1.2. ประเมินสภาพทั่วไป ได้แก่ ประวัติความ เจ็บป่วยทั้งในอดีต และปัจจุบันเกี่ยวกับโรคที่เป็นอาการผิดปกติต่าง ๆ

9.1.3. ผู้ป่วยควรดูแลตนเองที่บ้าน รับประทานยาตามใบสั่งแพทย์ มาพบแพทย์ตามนัดหมาย และหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่อาจส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวหลังการผ่าตัด เช่น ไม่ยกของหนัก ไม่ทำงานบ้านหนัก ๆ หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ และไม่ขับขี่ยานพาหนะจนกว่าร่างกาย จะฟื้นตัวกลับมาอยู่ในสภาวะปกติ

9.1.4. ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ให้พร้อมก่อนผ่าตัด เตรียมเลือดผ่าตัด จะเตรียม ล่วงหน้าก่อนผ่าตัด

9.1.5. สอนวิธีปฏิบัติตัวเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพหลัง ผ่าตัด การลุกจากเตียง การหายใจ การไอ

9.1.6. เตรียมความสะอาดร่างกายบริเวณผ่าตัด เพื่อ ป้องกันการติดเชื้อ

9.1.7. การเตรียมเอกสาร การยินยอมให้ทำการรักษาและผ่าตัด

9.2. การเตรียมตัวในวันผ่าตัด(Operative care)

9.2.1. ผู้ป่วยต้องงดอาหารเช้าและงดน้ำดื่ม

9.2.2. ไม่สวมใส่เครื่องประดับใด ๆ ทั้งสิ้นในขณะทำการผ่าตัด

9.3. การเตรียมตัวหลังผ่าตัด(Port-operative care)

9.3.1. ช่วยเหลือและกระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกเดินออกกำลังกายง่าย ๆ เคลื่อนไหวร่างกายบ้างเพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน

9.3.2. แพทย์จะจ่ายยาเพื่อควบคุมอาการ บรรเทาความเจ็บปวดหลังการผ่าตัด และบรรเทาผลข้างเคียงจากการใช้ยาชาและยาสลบจากการผ่าตัดด้วย

10. บรรณานุกรม

10.1. Gilly Andrews.//(2009).//Women’s sexual health.//5 ed.//Boston:/Addison Wesley.

10.1.1. กิติรัตน์ เตชะไตรศักดิ์.2560.ตำรานรีเวชวิทยา.พิมพ์ครั้งที่4.กรุงเทพฯ:บริษัท พี.เอ. ลีพวิ่ง จำกัด. นันทนา ธนาโนวรรณ.2553.ตำราการพยาบาลนรีเวช(ฉบับองค์รวม).พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพฯ:บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด. วีรศักดิ์ วงศ์ถิรพร.2554.นรีเวชวิทยา.พิมพ์ครั้งที่3.กรุงเทพฯ:บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด. สุรศักดิ์ อังสุวัฒนา.2561.ภาวะหมดระดูจาการผ่าตัด.พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพฯ:ห้างหุ้นส่วนจำกัด เรือนเเก้วการพิมพ์.

11. คำถาม

11.1. 1.ผู้ป่วยมะเร็งรังไข่เเพร่กระจายไปในอุ้งเชิงกราน หลังจากได้รับการผ่าตัดTAH With BSOเเละใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้2ชั่วโมง หลังผ่าตัดมีปัสสาวะออกน้อย พยาบาลต้องทำอะไรเป็นลำดับเเรก

11.1.1. ตอบ ตรวจสอบความผิดปกติของสายสวนปัสสาวะ

11.2. 2.หลังจากที่ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดTAH With BSOทำให้ผู้ป่วยมีภาวะMenotause พยาบาลควรให้คำเเนะนำอย่างไร

11.2.1. ตอบ 1.ให้ฮอร์โมนทดเเทน ได้เเก่เอสโตรเจน เเละโปรเจสเตอโรน 2.ให้เเคลเซียมทดเเทน จะช่วยป้องกันเเละรักษาการสูญเสียมวลกระดูกในวัยหมดระดู 3.เเนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายอย่างน้อยอาทิตย์ละ3ครั้งอย่างสม่ำเสมอ 4.ให้คำเเนะนำเกี่ยวกับโภชนาการ เช่นการรับประทานอาหารที่มีเเคลเซียมสูง ไขมันคอลเรสเตอรอลต่ำ