ภาษาคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ภาษาคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ภาษาคอมพิวเตอร์

1. 3.ภาษา Assembly

1.1. ความหมาย

1.1.1. ภาษา Assembly คือ ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง ซึ่งจะทำงานโดยขึ้นกับรุ่นของไมโครโพรเซสเซอร์ หรือหน่วยประมวลผล (CPU) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้ภาษาแอสเซมบลีจำเป็นต้องผ่านการแปลภาษาด้วยคอมไพเลอร์เฉพาะเรียกว่า แอสเซมเบลอร์ (assembler) ให้อยู่ในรูปของรหัสคำสั่งก่อน (เช่น .OBJ) โดยปกติ ภาษานี้ค่อนข้างมีความยุ่งยากในการใช้งาน และการเขียนโปรแกรมเป็นจำนวนบรรทัดมากมากกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ภาษาระดับสูง เช่น ภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์การทำงานของโปรแกรมเร็วกว่า และขนาดของตัวโปรแกรมมีขนาดเนื้อที่น้อยกว่าโปรแกรมที่สร้างจากภาษาอื่นมาก จึงนิยมใช้ภาษานี้ เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม

1.2. ตัวอย่างcode

1.2.1. 10110000 00000101 mov al,5 10110011 00001000 mov bl,4 00000000 11011000 add al,bl 10100010 00000010 00000001 mov [120h],al

2. 4.ภาษาGo

2.1. ความหมาย

2.1.1. Go เป็นอีกหนึ่งภาษาโปรแกรมที่ป็อบปูล่าสุดๆ เนื้อหอมน่าตามล่ายิ่งกว่าเจ๊ปูน้ำในหูไม่เท่ากันซะอีก ผลสำรวจจากสวนสัตว์ดุสิตโพลล์พบว่า ส่วนใหญ่คนเขียน Go มักมาจากประชากรโปรแกรมเมอร์ที่เขียนโปรแกรมภาษาใดภาษาหนึ่งเป็นอยู่แล้ว เพราะภาษาส่วนใหญ่มักมีหลายสิ่งเหมือนกัน จะให้โปรแกรมเมอร์ไปเริ่มภาษาใหม่ด้วยการนั่งอ่านวิธีประกาศตัวแปร ความหมายของ character หรือรู้จักว่า if statement และ for loop ต่างกันยังไง โลกนี้คงตายด้านน่าดู คิดแล้วขอบินไปเปิดหูเปิดตาที่ดูไบบ้างจะดีกว่า

2.2. ตัวอย่างcode

2.2.1. 1 2 3 4 func function_name( [parameter list] ) [return_types] { body of the function }

3. 5.ภาษาR

3.1. ความหมาย

3.1.1. Motto สำคัญของภาษา R คือ “Everything that exists in R is an object. Everything that happens in R is a function call.” – กล่าวโดย John Chambers หนึ่งในทีมผู้พัฒนา R ในยุคแรก (ตั้งแต่ยังเป็นภาษา S)ุ ทุกอย่างที่มีตัวตนอยู่ใน R คือ object และทุกสิ่งที่เกิดขึ้นใน R คือการเรียกใช้งาน function ตัวอย่างเช่น เราสร้าง vector x <- 1:10 (อันนี้คือ object) ถ้าเราต้องการหาผลรวมของ vector นี้ก็เรียกใช้ฟังชั่น sum(x)

3.2. ตัวอย่างcode

3.2.1. # integer x <- c(1:10) class(x) # logical y <- c(TRUE, FALSE) class(y) # character z <- c("Hello", "Hi", "Ni Hao") class(z) # convert logical to character y <- c(TRUE, FALSE) y <- as.character(y) class(y)

4. 7.ภาษาPython

4.1. ความหมาย

4.1.1. ในบทเรียนนี้ คุณจะได้เรียนรู้การเขียนโปรแกรมในภาษา Python ในพื้นฐานจนถึงระดับสูง เราจะสอนเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษา Python ในเบื้องต้น โครงสร้างของภาษา ตัวแปรและประเภทข้อมูล ตัวดำเนินการ อาเรย์และฟังก์ชัน และนอกจากนี้เรายังครอบคลุมการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP) ในภาษา Python บทเรียนของเราจะเป็นการเขียนโปรแกรมบน Console และเป็นแบบ Interactive shell เป็นส่วนมากและเราใช้ Python เวอร์ชัน 3 ซึ่งเป็นเวอร์ชันล่าสุดซึ่งจะมีบางอย่างที่แตกต่างจากเวอร์ชันก่อนหน้า ในบทเรียนมีตัวอย่างและคำอธิบายเพื่อช่วยให้คุณเข้าใจในหลักของภาษา Python มากขึ้น

4.2. ตัวอย่างcode

4.2.1. # My first Python program name = input('What is your name?\n') print ('Hi, %s.' % name) print ('Welcome to Python.')

5. 9.ภาษาC++

5.1. ความหมาย

5.1.1. สำหรับบทนี้เป็นบทสุดท้ายของเอกสารเล่มนี้ โดยจะกล่าวถึงแฟ้มข้อมูลในภาษา C ซึ่งจะทำให้ผู้เขียนโปรแกรมมีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการจัด การสร้าง และการเรียกใช้แฟ้มข้อมูลในภาษา C ตามความต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งได้แบ่งหัวข้อต่าง ๆ เกี่ยวกับแฟ้มข้อมูลในภาษา C ดังรายละเอียดดังต่อไปนี้

5.2. ตัวอย่างCode

5.2.1. #include <iostream> using namespace std; int main() { const int MAX_ARRAY = 10; int array_data[MAX_ARRAY]; int i; for(i=0;i<MAX_ARRAY;i++) { cout << "Enter Data Index (" << i << ") : "; cin >> array_data[i]; } cout << endl << endl; system("pause"); return 0; }

6. 1.ภาษาc

6.1. ความหมาย

6.1.1. ภาษาซี (C Programming Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ใช้สำหรับพัฒนาโปรแกรมทั่วไป ถูกพัฒนาครั้งแรกเพื่อใช้เป็นภาษาสำหรับพัฒนาระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ( Unix Opearating System) แทนภาษาแอสเซมบลี ซึ่งเป็นภาษาระดับต่ำที่สามารถกระทำในระบบฮาร์ดแวร์ได้ด้วยความรวดเร็ว แต่จุดอ่อนของภาษาแอซเซมบลีก็คือความยุ่งยากในการโปรแกรม ความเป็นเฉพาะตัว และความแตกต่างกันไปในแต่ละเครื่อง เดนนิส ริตชี (Dennis Ritchie) จึงได้คิดค้นพัฒนาภาษาใหม่นี้ขึ้นมาเมื่อประมาณต้นปี ค.ศ. 1970 โดยการรวบรวมเอาจุดเด่นของแต่ละภาษาระดับสูงผนวกเข้ากับภาษาระดับต่ำ เรียกชื่อว่า ภาษาซี คลิปลับ VDO งานเสริมทำออนไลด์ผ่าน net สร้างรายได้ 5 หมื่น บ/ด ขั้นต่ำ

6.2. ตัวอย่างcode

6.2.1. /*************************************************** * Author : CS Developers * Author URI: CS Developers – วิทยาการคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างโค้ด ดาวน์โหลด * Facebook : CS Developers ***************************************************/ #include<stdio.h> int main() { int arr_size = 10; int number[arr_size]; int i, tmp; for(i=0; i<arr_size; i++) { printf(" Enter number %d : ", i+1); scanf("%d", &number[i]); } i = 0; do { if(i < arr_size-1 && number[i] > number[i+1]) { tmp = number[i+1]; number[i+1] = number[i]; number[i] = tmp; i = 0; } else { i++; } }while(i < arr_size); printf("\n Ascending order : "); for(i=0; i<arr_size; i++) { printf(" %d", number[i]); } return 0; }

7. 2.ภาษาc#

7.1. ความหมาย

7.1.1. ภาษา C# (ซี-ชาร์ป) เป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่ใช้สาหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์1 ที่ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในปัจจุบัน และเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสาหรับผู้ที่เริ่มต้นสนใจที่จะเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งภาษา C# ถูกพัฒนามาจากภาษา C++ (ซี-พลัสพลัส) และมีโครงสร้างแบบเชิงวัตถุ (object-oriented programming) โดยใช้ Visual Studio (วิชวล-สตูดิโอ) เป็นเครื่องมือสาหรับพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่ง Visual Studio เป็นเครื่องมือที่คอยอานวยความสะดวกในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทาให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ไม่ยากนัก ภาษา C# ได้รวบรวมข้อดีของภาษาต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นภาษา Java ภาษา C และ ภาษา C++ โดยมีข้อดีดังนี้

7.2. ตัวอย่างcode

7.2.1. // #C Hello Word program using System; namespace Hello { class Program { static void Main() { // print text to the screen Console.WriteLine("Hello World!"); } } }

8. 6.ภาษา Javascript

8.1. ความหมาย

8.1.1. JavaScript คือ ภาษาคอมพิวเตอร์สำหรับการเขียนโปรแกรมบนระบบอินเทอร์เน็ต ที่กำลังได้รับความนิยมอย่างสูง Java JavaScript เป็น ภาษาสคริปต์เชิงวัตถุ (ที่เรียกกันว่า "สคริปต์" (script) ซึ่งในการสร้างและพัฒนาเว็บไซต์ (ใช่ร่วมกับ HTML) เพื่อให้เว็บไซต์ของเราดูมีการเคลื่อนไหว สามารถตอบสนองผู้ใช้งานได้มากขึ้น ซึ่งมีวิธีการทำงานในลักษณะ "แปลความและดำเนินงานไปทีละคำสั่ง" (interpret) หรือเรียกว่า อ็อบเจ็กโอเรียลเต็ด (Object Oriented Programming) ที่มีเป้าหมายในการ ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมในระบบอินเทอร์เน็ต สำหรับผู้เขียนด้วยภาษา HTML สามารถทำงานข้ามแพลตฟอร์มได้ โดยทำงานร่วมกับ ภาษา HTML และภาษา Java ได้ทั้งทางฝั่งไคลเอนต์ (Client) และ ทางฝั่งเซิร์ฟเวอร์ (Server)

8.2. ตัวอย่างcode

9. 8.ภาษาJava

9.1. ความหมาย

9.1.1. ในบทเรียนนี้ คุณจะได้เรียนรู้การเขียนโปรแกรมภาษา Java ตั้งแต่พื้นฐานและโครงสร้างของภาษา Java ตัวแปร ตัวดำเนินการ อาเรย์ string และการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP) คลาสและออบเจ็ค และคุณสมบัติต่างๆ ของออบเจ็ค อย่างไรก็ตามในบทเรียนนี้จะเป็นแบบ Console ทั้งหมด และไม่ได้ครอบคลุมในเรื่อง GUI เพื่อให้คุณมีพื้นฐานและเข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมของภาษา Java ในเบื้องต้นก่อนที่จะศึกษาภาษา Java ในขั้นสูงต่อไป

9.2. ตัวอย่างcode

9.2.1. //---------------------------------------------------------- //Author : THAI OPEN CODE //Author URI: https://www.thaiopencode.com //Facebook : https://www.facebook.com/ThaiOpenCode //---------------------------------------------------------- import java.util.Scanner; public class CircleAreaCalculator { public static void main(String[] args) { Scanner scan = new Scanner(System.in); System.out.print("กรุณากรอกตัวเลขของรัศมี : "); double r = scan.nextDouble(); scan.close(); System.out.printf("\r\nพื้นที่ของวงกลม คือ %.2f", Math.PI * (r * r)); } }

10. 10.ภาษาPHP

10.1. ความหมาย

10.1.1. นบทนี้ คุณจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับคำสั่งวนซ้ำในภาษา PHP ซึ่งประกอบไปด้วยคำสั่ง While Do While และ For loop ซึ่งเป็นคำสั่งที่ใช้ในการควบคุมโปรแกรมให้ทำงานในรูปแบบที่ซ้ำๆ ภายใต้เงือนไขที่เปลี่ยนไป ในชีวิตประจำวัน เรามักจะเจอกับสิ่งที่เกิดขึ้นซ้ำๆ ในวิธีการหรือกระบวนการแบบเดิม ยกตัวอย่างเช่น ในตอนเช้าของทุกๆ วันคุณเดินทางไปทำงาน หรือพนักงานขายอาหาร พวกเขาต้องรับรายการอาหาร แล้วจึงไปทำอาหาร จนถึงนำมาให้บริกาลูกค้า ซึ่งในแต่ละวันอาจจะมีลูกค้าเป็นร้อยหรือพันคน ซึ่งพวกเขารับมือกับลูกค้าในวิธีเดียวกัน

10.2. ตัวอย่างcode

10.2.1. <?php echo "Hello World!"; ?>