ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร by Mind Map: ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร

1. ความหมายของการศึกษา

1.1. กระบวนการของความเป็นอยู่โดยผ่านทางการทำ ประสบการณ์ให้สมบูรณ์อย่างต่อเนื่อง

2. ความมุ่งหมายของการศึกษา

2.1. ให้สามารถรักษาตนเองได้อย่างมั่นคงปลอดภัย

2.2. ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างเป็นสุขตามควรแก่อัตภาพ

2.3. ให้สามารถเลี้ยงดูบุตรธิดา ได้อย่างถูกต้อง

2.4. ให้มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

2.5. ให้รู้จักเวลาว่างให้เป็นประโยชน์

3. ความสำคัญของการศึกษา

3.1. พัฒนาการ มีพลานามัยร่างกายสมบูรณ์ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ

3.2. พัฒนาศีล มีศีลมีระเบียบวินัยมีมารยาทอันดีงาม

3.3. พัฒนาจิต มีจิตใจที่มีคุณภาพหรือมีคุณธรรม

3.4. พัฒนาปัญญา มีความรอบรู้เท่ากับความเป็นไปของสังคม

4. ความหมายของปรัชญาการศึกษา

4.1. การนำ หลักบางประการของปรัชญาอันเป็นแม่บทมาดัดแปลงให้เป็นระบบเพื่อประโยชน์ในการศึกษา

5. ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับการศึกษา

5.1. ปรัชญาช่วยวางรูปแบบในการจัดการศึกษา

5.2. ปรัชญาช่วยให้ภาพรวมเกี่ยวกับเป้าหมายและวิธีการจัดการศึกษาแนวคิดทางปรัชญาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับความเป็นมนุษย์

5.3. ปรัชญาช่วยให้กรอบในการวิเคราะห์ความคิดและภาษาของการศึกษาเป็นการวิเคราะห์ เกี่ยวกับความหมายของศัพท์ทางการศึกษา

6. ที่มาของปรัชญาการศึกษา

6.1. มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่มีมันสมองสามารถฝึกฝนการคิดของตนเองและสามารถถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น

7. ความมุ่งหมายของปรัชญาการศึกษา

7.1. ตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น

7.2. ค้นหาความหมายของสิ่งต่างๆ ทำให้เกิดความเข้าใจ

7.3. ให้เกิดความกระจ่างแจ้งให้ตนเองแต่ละบุคคล

8. มอง เป็นภาพรวมและความคิดต่อเนื่องของสิ่งต่างๆทำให้เกิดความสุขสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

9. ขอบข่ายของปรัชญาการศึกษา

9.1. สนใจมนุษย์ในฐานะที่เป็นปัจเจกชน

9.2. สนใจมนุษย์ที่อยู่ร่วมกันเป็นชุมชนหรือสังคมในแต่ละสังคมย่อมต้องมีแนวทางในการดำเนินชีวิตและสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น

9.3. สนใจจักรวาลที่มนุษย์อาศัยอยู่นั้นเป็นเช่นไรกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือธรรมชาติของชีวิต

10. เกี่ยวกับลักษณะวิชาความรู้ที่ยึดเป็นหลักในการให้การศึกษา

11. ลักษณะสำคัญของปรัชญาการศึกษา

11.1. เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่หรือข้อผูกพันของสถาบันการศึกษา

11.2. ลักษณะและคุณสมบัติของผู้จบการศึกษา

11.3. ลักษณะเป็นการพัฒนาและการวิเคราะห์

11.4. เป็นการคาดการณ์ล่วงหน้า

12. ที่มาของปรัชญาการศึกษา

12.1. ช่วยในการอนุมาน เป็นการคาดคะเน

12.2. ช่วยกำหนดรูปแบบมาตรฐาน แต่ละเรื่องให้เป็นหัวข้อนำมาปฏิบัติได้

12.3. ช่วยในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีเหตุผล

13. ปรัชญาการศึกษา

13.1. ปรัชญาสารัตถนิยม

13.1.1. การถ่ายทอดมรดกทางสังคมไปสู่ชนรุ่นต่อไป

13.1.2. วิลเลียม เเบ๊กลีย์

13.1.3. การศึกษาจะต้องผลิตพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมและมีความรู้พื้นฐานที่ดี

13.2. ปรัชญานิรัตรนิยม

13.2.1. การศึกษาก็ควรจะเป็นสัจจะซึ่งจะเหมือนกันไม่ว่าอยู่หนใดแห่งใด

13.2.2. สร้างคนให้เป็นคนโดยสมบูรณ์

13.2.3. โรเบิร์ต ฮัชชิน เเละ เเอดเลอร์

13.3. ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม

13.3.1. เด็กมีธรรมชาติที่ขาวสะอาด มีอิสระความเสมอภาค ไม่มีใครปกป้องได้ และไม่ได้เกิดมาพร้อมกับความบาป

13.3.2. เกิดความรู้ ความเข้าใจ ลักษณะวิวัฒนาการและรู้จักปรับปรุงตนเองสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข

13.3.3. รุสโซ เเละ จอห์น ดิวอี้

13.4. ปรัชญาปฏิรูปนิยม

13.4.1. การควบคุมสถาบันหลักต่างๆ โดยส่วนใหญ่ไม่ว่าในวัฒนธรรมใดๆ ยอมแสดงถึงความเป็นประชาธิปไตย

13.4.2. เพื่อชีวิตและสังคม

13.4.3. ธีโอเลอร์ บราเมลด์

13.5. ปรัชญาอัตถิภาวนิยม

13.5.1. มนุษย์มีความกระวนกระวายใจก็เพราะมนุษย์มีเสรีภาพก็เลยกลัวว่าจะใช้เสรีภาพอย่างผิดๆ

13.5.2. มุ่งให้เด็กมีเสรีภาพ โดยไม่ก้าวก่ายเสรีภาพของผู้อื่น

13.5.3. ซอเร็น คีร์เคกอร์ด

14. ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาการศึกษากับทฤษฎีการศึกษา

14.1. ทฤษฎีการศึกษา ได้รับการพัฒนาขึ้นโดยอาศัยปรัชญาการศึกษาสาขาต่างๆ

15. การพัฒนาปรัชญาการศึกษา

15.1. ต้องตำหนักว่าการศึกษาไม่ได้หมายถึงโรงเรียนและกิจกรรมในห้องเรียน

15.1.1. การศึกษาจะต้องถ่ายทอดมรดกทางสังคมจากรุ่นสู่รุ่น

15.1.2. การศึกษา ยังต้องให้ทักษะความสามารถความเข้าใจที่ช่วยพัฒนาทางใหม่ที่เหมาะสมกับสภาพสังคม

15.2. ต้องตระหนักว่าปรัชญาช่วยเสนอภาพรวมของการศึกษา

15.3. ต้องศึกษาพัฒนาการเชิงประวัติศาสตร์และแนวคิดปรัชญา

15.4. ต้องศึกษาแนวปฏิบัติและการวิเคราะห์เชิงปรัชญาในประเด็นเฉพาะต่างๆ

15.5. ต้องศึกษาค้นคว้าในเรื่องปรัชญาการศึกษาอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

15.6. พัฒนาแนวคิดทางปรัชญาให้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต

16. แนวทางในการสร้างปรัชญาการศึกษา

16.1. ประยุกต์มาจากปรัชญาแม่บท อภิปรัชญาญาณวิทยาและคุณวิทยา

16.2. ยึดปรัชญาของนักปรัชญาแต่ละคนหรืออาจจะยึดหลักปรัชญาของนักคิดหรือนักปรัชญาคนใดคนหนึ่ง

16.3. ใช้หลักการทางปรัชญามาวิเคราะห์

16.4. วิจารณ์การศึกษาที่มีอยู่ในปัจจุบัน

17. เกณฑ์วินิจฉัยปรัชญาการศึกษา

17.1. ปรัชญาการศึกษาควรตั้งอยู่บนพื้นฐานของมวลประสบการณ์

17.2. ปรัชญาการศึกษาควรคู่ทักษะต่างๆอย่างกว้างขวาง

17.3. ปรัชญาการศึกษาควรมี ความสอดคล้องกันในทุกๆด้าน

17.4. ปรัชญาการศึกษาที่กำหนดขึ้นควรเป็นเรื่องที่ปฏิบัติได้

17.5. ปรัชญาการศึกษาควรเป็นที่พอใจของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

18. ความสำคัญของปรัชญาการศึกษา

18.1. การศึกษาเพื่อมุ่งให้คนอยู่ดีกินดี ทุกวิถีทางขยายความสนใจของพลเมืองให้กว้างขวางอยู่ในระดับที่ตื่นตัว