นักออกแบบ: บทบาทสำคัญของครู

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นักออกแบบ: บทบาทสำคัญของครู by Mind Map: นักออกแบบ: บทบาทสำคัญของครู

1. ข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบการจัดการเรียนรู้

1.1. ด้านจิตวิทยาพัฒนาการของผู้เรียน

1.1.1. พัฒนาการแต่ละด้าน

1.1.1.1. ร่างกาย

1.1.1.2. อารมณ์

1.1.1.3. สังคม

1.1.1.4. สติปัญญา

1.1.2. ทฤษฎีการเรียนรู้

1.1.2.1. พฤติกรรมนิยม

1.1.2.2. พุทธินิยม

1.1.2.3. มนุษยนิยม

1.1.2.4. รังสรรคนิยม

1.2. เกี่ยวกับผู้เรียน

1.2.1. ภูมิหลังครอบครัว

1.2.2. เจตคติต่อวิชา

1.2.3. ความถนัด/ความสนใจ

1.2.4. ระดับสติปัญญา

1.3. ด้านหลักสูตร

1.3.1. ครูศึกษาให้เข้าใจ เพื่อกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและเนื้อหาสาระ

1.4. ด้านนวัตกรรม

1.4.1. แนวคิด/ทฤษฎี

1.4.2. วิธีการสอน/รูปแบบการสอน

1.4.2.1. CIPPA

1.4.2.2. PBL

1.4.3. สื่อ

1.4.3.1. CAI

1.4.3.2. e-book

1.4.4. วัดผลตามสภาพจริง

1.4.5. วิเคราะห์ผู้เรียน

1.5. สิ่งอำนวยความสะดวกในโรงเรียน

1.5.1. คอมพิวเตอร์

1.5.2. ห้องปฏิบัติการ

1.6. สภาพชุมชน

1.6.1. ครูศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน เพื่อนำมาจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน

1.7. การจัดการห้องเรียน

1.7.1. สภาพแวดล้อม/บรรยากาศ

1.7.1.1. ป้ายนิเทศ

1.7.1.2. มุมต่าง ๆ

1.7.1.3. การจัดโต๊ะเรียน

1.7.2. การมีปฏิสัมพันธ์

2. ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้

2.1. ๑ ระบุสภาพปัญหา

2.1.1. เพื่อกำหนดวัตถุประสงค์

2.2. ๒ วิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

2.3. ๓ ออกแบบประเด็นที่เกี่ยวข้อง

2.4. ๔ ตรวจสอบคุณภาพเชิงทฤษฎี

2.4.1. ตรวจสอบคุณภาพของแผนการเรียนรู้/ สื่อ/ เครื่องมือวัดผล

2.5. ๕ นำผลไปใช้

2.5.1. เพื่อดูผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน

2.5.2. ตรวจสอบความเหมาะของการออกแบบการเรียนรู้

2.5.3. มี ๒ แนวทาง

2.5.3.1. นำไปใช้แล้ววัดผล ___XO

2.5.3.2. ทดสอบหรือวัดสภาพของผู้เรียนก่อนนำไปใช้ O X O

3. หลักการออกแบบ

3.1. ด้านข้อมูลพื้นฐาน

3.2. ด้านความสอดคล้องภายในและภานนอก

3.3. ความครบถ้วนสมบูรณ์ของกิจกรรมการเรียนรู้

3.4. คำนึงบทบาทของผู้เรียน

3.5. คำนึงความเป็นไปได้

4. แนวทางการออกแบบ

4.1. เชิงระบบ

4.2. ทั่วไป

4.2.1. กำหนดองค์ประกอบตามแนวคิดไทเลอร์

4.3. แบบย้อนกลับ

4.3.1. วิกกิ้นและไทน์ เป็นผู้นำเสนอแนวคิด

4.3.1.1. กำหนดเป้าหมาย

4.3.1.2. กำหนดหลักฐานการเรียนรู้

4.3.1.3. กำหนดกิจกรรม

4.4. การออกแบบสื่อ

4.4.1. ADDIE

4.4.2. IDLS

4.4.2.1. วิเคราะห์งาน

4.4.2.2. แบบทดสอบองเกณฑ์และวัดพฤติกรรม

4.4.2.3. พัฒนาสื่อการสอนเชิงสัมพันธ์

4.4.2.4. ตรวจสอบสื่อ

4.5. การวิจัย

4.5.1. เชิงพัฒนา

4.5.2. แบบมีส่วนร่วม

5. คุณลักษณะของครูนักออกแบบ

5.1. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน

5.2. ช่างสังเกต

5.3. ช่างคิด

5.4. ช่างเชื่อมโยง

5.5. ช่างเขียน

5.6. ช่างทดลอง

5.7. ชอบทำสิ่งใหม่ๆ

5.8. มุ่งผลสำเร็จ

6. การออกแบบการจัดการเรียนรู้

6.1. กำหนดองค์ประกอบที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ โดยคำนึงผลที่เกิดต่อผู้เรียน

7. จุดมุ่งหมาย

7.1. เพื่อกำหนดองค์ประกอบของการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน

7.2. เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้สู่สากล

7.3. เพื่อยกระดับวิชาชีพครู

7.4. เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐาน เช่น นักเรียน หลักสูตร

8. ความสำคัญของการออกแบบการเรียนรู้

8.1. ความสำคัญต่อครู

8.1.1. แสดงถึงความรู้ ความสามารถของครูในการบูรณาการทักษะและประสบการณ์

8.1.2. ยกระดับมาตรฐานวิชาชพครู

8.1.3. แสดงให้เห็นถึงความพยายามของครูในการพัฒนาตนและงานที่รับผิดชอบ

8.2. ความสำคัญต่อผู้เรียน

8.2.1. ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

8.2.2. ผู้เรียนมีแรงจูงใจแบะเจตคติที่ดี

9. ประเภทของรูปแบบการออกแบบการเรียนรู้

9.1. ใช้ในห้องเรียน

9.2. เน้นผลผลิต

9.3. เชิงระบบ

9.4. ระดับและผลการออกแบบการเรียนรู้

9.4.1. ทั่วไป

9.4.1.1. วิธีการ

9.4.1.1.1. ขั้นตอนเฉพาะรูปแบบเชิงระบบ /วิจัย

9.4.1.2. ผลที่ได้

9.4.1.2.1. รูปแบบการสอน

9.4.1.2.2. สื่อ/นวัตกรรม

9.4.2. จุดมุ่งหมายเฉพาะด้าน

9.4.2.1. วิธีการ

9.4.2.1.1. วิจัย/เชิงระบบ

9.4.2.2. ผลที่ได้

9.4.2.2.1. รูปแบบการสอน

9.4.2.2.2. วิธีการสอน

9.4.3. ชั้นเรียน

9.4.3.1. วิธีการ

9.4.3.1.1. ปกติ

9.4.3.1.2. ย้อนกลับ

9.4.3.1.3. วิจัย

9.4.3.2. ผลที่ได้

9.4.3.2.1. แผนการจัดการเรียนรู้