สัมมนาวิจัย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สัมมนาวิจัย by Mind Map: สัมมนาวิจัย

1. พระมหา ดร. พงศ์ศักดิ์ ฐานิโย

1.1. พุทธศิลป์

1.1.1. ยุคโบราณ

1.1.1.1. 2 BC - 1 AD

1.1.1.2. ราชวงศ์

1.1.1.2.1. เมารยะ

1.1.1.2.2. ศุงคะ

1.1.1.2.3. สาตวาหนะ

1.1.1.3. ไม่มีพระพุทธรูป

1.1.1.3.1. จารึก

1.1.1.3.2. สถูป

1.1.1.3.3. วัดถ้ำ

1.1.2. ยุคพัฒนา

1.1.2.1. C 1 - 5 AD

1.1.2.2. ราชวงศ์

1.1.2.2.1. กุษานะ

1.1.2.3. ศิลปะ

1.1.2.3.1. คันธาระ

1.1.2.3.2. มถุรา

1.1.2.3.3. อมราวดี

1.1.2.4. ช่างผสมกรีก - อินเดีย

1.1.3. ยุคสมบูรณ์

1.1.3.1. C 4 - 12 AD

1.1.3.2. ราชวงศ์

1.1.3.2.1. คุปตะ

1.1.3.2.2. ปาละ

1.1.4. งานวิจัย

1.1.4.1. เปรียบเทียบโบราณคดีประยุกต์

1.1.4.1.1. สิ่งที่ปรากฎในคัมภีร์

1.1.4.1.2. ค้่นความจริงในโบราณสถาน-วัตถุ

1.1.4.2. ตัวอย่าง

1.1.4.2.1. การประสูติของพระพุทธเจ้า

1.1.4.2.2. คัมภีร์เปรียบเทียบ

1.1.4.2.3. Mahāyanparimivāṇasūtra

2. ศ.ดร. สมภาร พรมทา

2.1. ศูนย์ศึกษาพุทธปรัชญา

2.1.1. วิชาการพระพุทธศาสนา

2.1.1.1. วิทยานิพนธ์

2.1.1.1.1. พระพุทธเจ้าเป็นศาสดาแบบใด

2.1.2. ศาสตร์แห่งการตีความ

2.1.2.1. ตัวอย่าง

2.1.2.1.1. มิลินทปัญหา

2.1.2.1.2. การให้ทานอย่างพระเวสสันดร

2.1.2.1.3. สตรีศึกษา

2.1.2.1.4. Space & Time

2.1.2.2. เพราะไม่เข้าใจคัมภีร์เดิมในยุคนั้น

2.1.2.2.1. ตั้งข้อสงสัย

2.1.3. สอนพุทธศาสตร์เชิงปรัชญา

2.1.3.1. ปรัชญาตะวันตก

2.1.3.1.1. อภิปรัชญา

2.1.3.1.2. จริยศาสตร์

2.1.3.1.3. ญาณวิทยา

2.1.3.2. เปรียญธรรม ๙ ประโยค

2.1.3.2.1. บาลีพุทธศาสตร์

2.1.3.3. เกิดองค์ความรู้มาก

2.1.3.3.1. ตั้งคำถามแล้วตอบได้

2.1.3.3.2. ทฤษฎีความรู้

2.1.4. การทำงาน

2.1.4.1. สังคมวิทยาประยุกต์

2.1.4.2. ใช้วิธีการทางปรัชญา

2.1.4.2.1. Kartian

2.1.4.2.2. สอนอนัตตา เกณฑ์วัดอัตตาคืออะไร

2.1.4.2.3. ความรู้ทุกอย่างมีฐานความรู้

2.1.4.3. ครูฝึกวิชาตลอด

2.1.4.3.1. ตรรกะดี

2.1.4.3.2. เชิงวิชาการ

2.2. ทำไมต้องเรียนงานวิจัยพระพุทธศาสนา

2.2.1. เพื่อประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน

2.2.1.1. สายจารีตดั้งเดิม

2.2.1.1.1. องค์ความรู้ถูกท้าทายทางวิทยาศาสตร์ปัจจุบัน

2.2.1.2. สายศึกษาเชื่อมโยง (แนวใหม่)

2.2.1.2.1. ศาสนากับโลกและชีวิต

2.2.2. องค์กรค์ศาสนาจัดตั้งมหาวิทยาลัย

2.2.2.1. ให้ความรู้ศาสนาและปรัชญา

3. ดร. อำนาจ บัวศิริ

3.1. โครงร่างงานวิจัย

3.1.1. 1. ตั้งชื่อเรื่อง

3.1.2. 2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

3.1.3. 3. วัตถุประสงค์

3.1.3.1. ให้อะไร?

3.1.4. 4. ขอบเขตการวิจัย

3.1.4.1. เนื้อหา

3.1.4.2. ประชากร

3.1.4.3. เวลา

3.1.4.4. วิธีรวบรวม

3.1.4.5. ตัวแปร

3.1.4.6. สถานที่

3.1.5. 5. ข้อจำกัดการวิจัย

3.1.6. 6. นิยามศัพท์เฉพาะ

3.1.7. 7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

3.2. ที่ปรึกษา

3.2.1. คอยช่วงพยุง

3.2.2. ออกแบบนำร่อง

3.2.3. เก็บข้อมูล

3.2.4. พบปะบ่อย ๆ

3.2.5. วางแผนกรอบโครงร่าง

3.2.6. ช่วยนักเรียนพบหลักฐานมาตราฐาน

3.2.7. จัดการ ปรับปรุง เรียบเรียง

3.2.8. ให้กำลังใจ ตวามก้าวหน้า การเขียนรายงานดี

3.2.9. ช่วยปรับ นำเสนอสาธารณะ

3.3. นักเรียน

3.3.1. สรุปชัดเจน

3.3.2. พบที่ปรึกษาตามกำหนด

3.3.3. งบพร้อม เวลาชัดเจน

3.3.4. ยืนยันกับที่ปรึกษาทุกกรณี

3.3.5. ให้ความสนิทสนม นโยบายสอดคล้อง

3.3.6. อย่าพลาดพบที่ปรึกษา

3.4. การเลือกหัวข้อวิจัย

3.4.1. สนใจเกี่ยวกับเรื่องอะไร

3.4.2. ขอบข่าย ระยะที่สนใจ

3.4.3. ขนาด

3.4.4. ศักยภาพสร้างสรรค์

3.4.5. สามารถหาข้อมูลได้

3.4.6. แสดงสาธิต เผยความรู้

3.4.7. ทำได้จริง

3.5. การทำวิจัย

3.5.1. สิ่งที่ต้องสอดคล้องกัน

3.5.1.1. คำถาม

3.5.1.2. สมมติฐาน

3.5.1.3. การออกแบบ

3.5.1.4. วิเคราะห์สถิติ

3.5.2. เตรียมโครงร่าง

3.5.2.1. คำถามการศึกษา

3.5.2.2. ตระหนักถึงปัญหา

3.5.2.3. จัดคำถามและสมมติฐานสอดคล้องกัน

3.5.2.4. ระเบียบวิธีชัดเจน

3.5.2.5. ตำรารายงานสอดคล้องกัน

3.5.2.6. น่าเชื่อถือ คงที่

3.5.2.7. ตัวชี้วัด

3.5.2.8. ข้อจำกัด

3.5.3. ทำไมต้องทำวืจัย

3.5.3.1. ค้นเพื่อให้ได้คำตอบที่ชัดเจน

3.5.3.2. สิ่งที่สนใจ

3.5.3.3. สายงาน

3.5.3.4. นโยบาย

3.5.3.5. สังคมสนใจ

3.5.3.6. มีปัญหา รับจ้าง ธุรกิจ

3.6. งานวิจัยพระพุทธศาสนา

3.6.1. ประวัติพระพุทธเจ้า

3.6.1.1. ความจริงเป็นอย่างไร?

3.6.2. พุทธสาวก

3.6.2.1. ความเป็นเลิศ

3.6.3. หลักธรรม

3.6.3.1. 84,000 พระธรรมขันธ์

3.6.4. การปฏิบัติธรรม

3.6.4.1. ทำอย่างไร

3.6.5. การเผยแผ่

3.6.6. การดำเนินชีวิตด้วยหลักธรรม

3.6.6.1. เฉพาะตน

3.6.6.2. สังคม

3.6.6.3. โลก

3.6.7. แก้ปัญหาด้วยหลักธรรม

3.6.7.1. วิธีการ

3.6.7.2. หลักการ

3.6.7.3. คุณลักษณะ

3.6.8. การสังคมสงเคราะห์

3.6.8.1. *พระควรทำมากที่สุด

3.6.9. บริหารจัดการ

3.6.9.1. พัฒนาคณะสงฆ์

3.6.9.1.1. ทำให้พอดี

3.6.10. สร้างศาสนทายาท

3.6.11. พัฒนาข้ามศาสตร์

3.6.11.1. การพัฒนาคนและจิต

3.6.12. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์

3.6.12.1. ได้ทุกคน

3.6.13. องค์ความรู้แห่งพุทธธรรม

3.6.13.1. จัดหมวดหมู่ ให้ความรู้ด้าน ...

3.6.14. วิทยาศาสตร์พุทธธรรม

3.6.14.1. ทำไมพระพุทธเจ้าทรงทราบ

3.6.14.1.1. พระสัพพัญญู

3.6.15. พุทโธโลยี

3.6.15.1. Buddhology