การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น Wilms' Tumor

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น Wilms' Tumor by Mind Map: การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น Wilms' Tumor

1. อาการและอาการแสดง

1.1. คลำพบก้อนในท้อง

1.2. ปัสสาวะเป็นเลือดหรือตรวจพบเม็ดเลือดในปัสสาวะ

1.3. ความดันโลหิตสูง

1.4. ปวดท้อง

1.5. อ่อนเพลีย

1.6. ซีด

1.7. มีไข้

1.8. มีอาการของการแพร่กระจายของโรคไปที่ปอด เช่นไอ เหนื่อย หายใจลำบาก

1.9. อาการที่พบร่วมด้วย

1.9.1. มีอาการตัวโตครึ่งซีก (hemihypertrophy)

1.9.2. ความผิดปกติของ ระบบทางเดินปัสสาวะ

1.9.2.1. รูเปิดของท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ (hypospadias)

2. การวินิจฉัย

2.1. การซักประวัติ

2.1.1. อายุของเด็ก

2.1.2. การพบก้อนในท้อง

2.1.3. อาการที่พบร่วมด้วย

2.1.3.1. การปัสสาวะเป็นเลือดสด น้ำหนักลด

2.2. การตรวจร่างกายทุกระบบ

2.2.1. พบอาการและอาการแสดง

2.2.1.1. มีไข้

2.2.1.2. ซีด

2.2.1.3. อ่อนเพลีย

2.2.1.4. ปวดในท้อง

2.2.1.5. ปัสสาวะเป็นเลือด

2.2.1.6. ความดันโลหิตสูง

2.3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

2.3.1. การตรวจเลือดอาจพบจำนวนเม็ดเลือดแดงต่ำ

2.3.2. การตรวจโดยการฉีดสารทึบแสงเข้าในหลอดเลือดดำเพื่อขับออกที่ไต (intravenous pyelogram, IVP)

2.3.3. CT scan , renal biopsy, ultra sound

3. การรักษา

3.1. ผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออก โดยบางรายอาจได้รับเคมีบำบัดก่อน เพื่อลดขนาดก้อนให้เล็กลง

3.2. รังสีรักษา ที่บริเวณตำแหน่งของไต

3.3. ให้เคมีบำบัด ชนิดของยาที่ได้ผล คือ acinomycin D, vincristine, doxorubicin

4. ต้องแยกระหว่าง Wilms’ tumor กับ neuroblastoma

4.1. Wilms’ tumor เป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไตจะทำให้urinary collecting system ถูกดันออกไป

4.2. neuroblastoma เป็นก้อนอยู่นอกไตทำ ให้ไตถูกดันให้ย้ายที่แต่collecting system ไม่บิดเบี้ยว

5. การพยาบาล

5.1. ระยะก่อนผ่าตัด

5.1.1. เขียนป้าย ห้ามคลำท้อง

5.1.2. ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต

5.1.3. ประเมินการทำงานของไต

5.2. ระยะหลังผ่าตัด

5.2.1. ประเมินการทำงานของระบบทางเดินอาหาร

5.2.2. ระวังและหลีกเลี่ยงสิ่งที่จะทำให้ไตได้รับอัน ตรายเพิ่มขึ้น

5.2.3. ดูและประคับประคองสภาพจิตใจแก่บิดามารดา

6. ความหมาย

6.1. มะเร็งของไต

6.2. เป็นภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา (parenchyma) มีการเจริญผิดปกติ จนกลายเป็นเนื้องอกภายในเนื้อไต ส่วนใหญ่มีขนาดใหญ่จนคลำได้ทางหน้าท้อง และมักจะเป็นที่ไต ข้างใดข้างหนึ่ง บางรายอาจมีความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่๑๑

7. สาเหตุ

7.1. เชื่อว่าสาเหตุจากกรรมพันธุ์ พบในพี่น้องท้องเดียวกัน พบในคู่แฝดประมาณร้อยละ ๑๕-๒๐

8. การแบ่งระยะของโรค

8.1. Stage ๑ ก้อนจำกัดอยู่ในไต ถูกตัดออกได้หมด

8.2. Stage ๒ มีการลุกลามเข้าไปในเนื้อเยื่อรอบๆไต แต่ถูกตัดออกได้หมด

8.3. Stage ๓ มีการลุกลามของโรคเข้าไปในอวัยวะอื่นๆ แต่ยังอยู่ภายในช่องท้อง ตัดออกได้ไม่ หมด

8.4. Stage ๔ มีการกระจายของโรคไปที่ส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น ปอด ตับ กระดูก สมอง

8.5. Stage ๕ เป็นมะเร็งที่ไตทั้งสองข้าง

9. พยาธิสรีรภาพ

9.1. เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อเริ่มที่ไต ได้แก่ blastemal cell, epithelial cell และ stroma cell มะเร็งที่ไตเป็นเนื้องอกที่มีขนาดใหญ่ มีเปลือกหุ้มชัดเจน อาจเกิดตรงกลางของไต แล้วลุกลามไปทั่วไตหรืออกไปนอกไตได้ เข้าไปในส่วนของอุ้งเชิงกราน อาจ กระจายไปต่อมน้ าเหลือง หลอดลือดดำที่ไตหรือหลอดเลือดดำเวนาคาวา ตลอดจนอวัยวะอื่นๆ เช่น ปอด

10. การพยากรณ์โรค

10.1. มีอัตรารอดชีวิตสูงในรายที่มะเร็งยังไม่มีการแพร่กระจาย หรืออยู่ในระยะที่๑ และ๒

11. ภาวะแทรกซ้อน

11.1. มีภาวะน้ำท่วมปอด

11.2. หัวใจขาดเลือด

11.3. ภาวะโปแตสเซียมในเลือดสูง

11.4. อาการความดันเลือดสูงขึ้นจนผิดปกติ

11.5. มีภาวะซีดหรือมีภาวะเลือดจาง

11.6. มีภาวะยูเรียหรือระดับยูเรียสูงมาก

11.7. ระบบประสาทส่วนปลายอักเสบจนถูกทำลาย

11.8. โรคกระดูกพรุน

11.9. ต่อมไร้ท่อทำงานอย่างผิดปกติ

11.10. มีภาวะแทรกซ้อนทางสมองโดยตรง

11.11. ติตเชื้อโรคได้ง่ายและมีอาการรุนแรง