บุหรี่ไฟฟ้า

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บุหรี่ไฟฟ้า by Mind Map: บุหรี่ไฟฟ้า

1. สารที่พบในน้ำยาของบุหรี่ไฟฟ้า

1.1. .สารนิโคติน (Nicotine)

1.2. สารโพรไพลีนไกลคอล (Propylene Glycol)

1.3. กลีเซอรีน (Glycerine)

1.4. สารแต่งกลิ่น (Flavoring)

2. โฆษณาบุหรี่

2.1. กลยุทธ์ที่บริษัทบุหรี่เคยใช้เพื่อดึงดูดเด็กและเยาวชนให้เสพติด

2.1.1. การใช้ดาราที่มีอิทธิพลกับวัยรุ่น

2.1.2. การให้สปอนเซอร์จัดงานคอนเสิร์ตหรือแข่งกีฬา

2.1.3. การใช้กลิ่นสีรสชาติที่ดึงดูด (Matthew L Myers)

3. โทษของบุหรี่ไฟฟ้า

3.1. ทำให้ร่างกายเกิดการเสพติดในการใช้บุหรี่ และจะเข้าไปกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางโดยเฉพาะสมอง

4. ผลกระทบระยะยาว ทำให้เกิด

4.1. เยื่อหุ้มฟันอักเสบ (Periodontitis)

4.2. เยื่อจมูกอักเสบ (Rhinitis)

4.3. ต้อกระจก (Cataracts)

4.4. ซีด (Anemia)

4.5. จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ (Cardiac rhythm changes)

4.6. นอนไม่หลับ(Insomnia)

5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่ไฟฟ้า

5.1. งานวิจัยล่าสุดพบสูบบุหรี่ไฟฟ้าเสี่ยงเกิดโรคเส้นเลือดสมองตีบสูงขึ้น 71%, โรคหัวใจวายเฉียบพลันสูงขึ้น 59%, กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดสูงขึ้น 40% นอกจากนี้ยังพบอัตราการสูบบุหรี่ธรรมดาในกลุ่มผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้าสูงขึ้นเป็น 2 เท่า

6. สถานการณ์ในต่างประเทศ

6.1. การใช้บุหรี่ไฟฟ้าในกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายเพิ่มสูงขึ้นเป็นสองเท่าจากปี ค.ศ. 2011 ถึง ปี ค.ศ. 2012 จากร้อยละ 4.7 เป็นร้อยละ 10.0 ปัจจัยหนึ่งที่สัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของนักสูบวัยรุ่น คือ การตลาดที่เย้ายวนให้วัยรุ่นกลุ่มนี้สนใจในผลิตภัณฑ์บุหรี่ไฟฟ้ามีการออกแบบที่ทันสมัย สวยงาม มีสีสันและกลิ่น ที่หลากหลาย เช่น กลิ่นมินต์ กลิ่นผลไม้ กลิ่นช็อกโกแลต วานิลลา โคล่า

7. ความหมายบุหรี่ไฟฟ้า

7.1. เป็นอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่สามารถชาร์จใหม่ได้เป็นตัวจ่ายไฟสร้างความร้อนให้สำหรับผลิตสารประกอบต่าง ๆได้เช่นนิโคตินและสามารถกำหนดปริมาณสารนิโคตินได้ สูดดมโดยใช้วิธีไอระเหยละเอียดอ่อน ผ่านละอองฝอยเข้าสู่ร่างกาย โดยไม่ต้องมีการเผาไหม้

8. ประเภทของบุหรี่ไฟฟ้า

8.1. บุหรี่ไฟฟ้ารูปแบบที่ 1 Cigalike

8.2. บุหรี่ไฟฟ้ารูปแบบที่ 2 eGos

8.3. บุหรี่ไฟฟ้ารูปแบบที่ 3 Mods

9. ผลกระทบระยะสั้น ทำให้เกิดอาการ

9.1. หายใจไม่ออก (Choking)

9.2. ไอ (Coughing)

9.3. จาม (Sneezing)

9.4. คลื่นไส้ (Nausea)

9.5. อาเจียน (Vomiting)

9.6. ปวดศีรษะ (Headache)

9.7. มึนงง (Dizzi- ness)

9.8. สับสน (Confusion)

9.9. ความดันโลหิตต่ำ(Hypotension)

10. บุหรี่ไฟฟ้ากับกฎหมายประเทศไทย

10.1. ผู้ขาย

10.1.1. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 500,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

10.2. ผู้ผลิตหรือสั่งนำเข้ามาในราชอาณาจักร

10.2.1. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือปรับไม่เกิน 1,000,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

10.3. ผู้ให้บริการ

10.3.1. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 500,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

10.4. หากมีการฝ่าฝืนจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตราย

10.4.1. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือปรับไม่เกิน 1,000,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

11. สถานการณ์ในประเทศไทย

11.1. ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ในช่วง พ.ศ.2534-2558 แนวโน้มการสูบบุหรี่ลดลงตามลำดับ จากจำนวน 12.26 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 32 ของประชากรไทยใน พ.ศ.2534 เหลือ 10.90 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 19.90 ของประชากร

12. ตัวอย่างสถานการณ์ข่าว

12.1. อเมริกันตายแล้ว 7 เพราะบุหรี่ไฟฟ้า ย้ำรัฐบาลไทยมาถูกทางแล้วที่ห้ามขาย

12.1.1. “หยุดสูบ หยุดตาย จากบุหรี่ไฟฟ้า” เผย ศูนย์ควบคุมโรคของสหรัฐฯ พบการเจ็บป่วยด้วยโรคปอดที่มีโอกาสสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ไฟฟ้าถึง 450 ราย ในระยะเวลาเพียง 2 เดือน และเสียชีวิตแล้ว 7 ราย บางรายเป็นรุนแรงและรวดเร็วถึงขั้นการหายใจล้มเหลว ระบุต่างจากโรคถุงลมโป่งพองที่เกิดจากการสูบบุหรี่ธรรมดา ที่เนื้อปอดจะเสียหายช้าๆ กว่าจะถึงขั้นหายใจล้มเหลวต้องใช้เวลานานมาก จึงขอให้ทุกคนตระหนักถึงอันตรายของบุหรี่ไฟฟ้าและไม่ใช้บุหรี่ไฟฟ้า