ความสำคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามแผนพัฒนา Thailand 4.0

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความสำคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามแผนพัฒนา Thailand 4.0 by Mind Map: ความสำคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามแผนพัฒนา Thailand 4.0

1. นำความรู้ไปปรับใช้จนเกิดผลสัมฤทธิ์

1.1. วัดความสำเร็จของการศึกษา จากผลสัมฤิทธิ์ที่เกิดขึ้น มากกว่าการให้ความสนใจกับคะแนนหน่วยกิต

1.1.1. ดูผลจากโครงการ การปฏิบัติงาน ว่าผู้ศึกษาสามารถนำไปใช้ได้จริงหรือไม่

1.1.2. คะแนนไม่ใช่ตัวชี้วัดที่สำคัญ

1.1.3. ทำให้ผู้ศึกษาสามารถคิดนอกกรอบมากขึ้น เกิดความคิดสร้างสรรค์

1.2. ไม่เรียนเพื่อได้วุฒิการศึกษาเท่านั้น แต่เรียนเพื่อนำไปประกอบอาชีพในอนาคตได้

1.2.1. เป็นการศึกษาที่ไม่สูญเปล่า สามารถนำไปใช้ได้จริง ในการดำเนินชีวิตในสังคมที่มีการแข่งขันสูง

1.2.2. ผู้ศึกษามีโอกาสเลือกรายวิชาการศึกษาได้อย่างหลากหลาย ตามที่ตนเองสนใจ และสามารถนำไปใช้ได้จริง

1.2.3. มีงานรองรับตามรายวิชาที่กระทรวงศึกษาธิการ กำหนด

1.3. เน้นการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหามากกว่าการยึดหลักทฤษฎี

1.3.1. ไม่ยึดติดกับหลักทฤษฎีเท่านั้น

1.3.2. การมองข้ามทฤษฎี จะทำให้เกิดกระบวนการคิดใหม่ๆ ส่งผลให้เกิดทฤษฎีใหม่ๆ

1.3.3. ทฤษฎีไม่สามารถแก้ไขปัญหา แต่ปัญหานั้นๆจะนำไปสู่ทฤษฎีใหม่ๆ

1.4. ปรับเปลี่ยนจากการนั่งฟังบรรยาย เป็นการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ในการทำโครงงานในรูปแบบต่างๆ

1.4.1. ผู้เรียนไม่ใช่ผู้ฟังอย่างเดียว

1.4.2. ผู้เรียนสามารถลงมือปฏิบัติได้จริง

1.4.3. เกิดการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม

2. เป็นคนไทยที่มีจิตสาธารณะ

2.1. เน้นการสร้างคุณค่าร่วม (Sharing Value)

2.1.1. มองผลในระยะยาว

2.1.2. สร้างสิ่งที่เป็นประโยชน์ร่วมกันในสังคม

2.1.3. รักษาผลประโยชน์ทางสังคมที่มีร่วมกัน

2.2. ทำให้เกิดการระดมความคิดแบบกลุ่ม

2.2.1. ไปด้วยกันไปได้ไกล

2.2.2. สร้างการทำงานแบบกลุ่ม

2.2.3. ลดการแข่งขันแบบเดี่ยว (ปัจเจกบุคคล)

2.3. เปลี่ยนจากการแข่งขันเพื่อให้ได้รางวัล เป็นรางวัลของการทำงานร่วมกัน

2.3.1. ไม่ใช่การแข่งขันเพื่อให้ได้รางวัล

2.3.2. เป็นการแข่งขันเพื่อบรรลุผลสัมฤทธิ์ทางสังคม

2.4. มองไกลกว่าประโยชน์ส่วนตน

2.4.1. รัฐสนับสนุนทุนในการศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม

2.4.2. ปลูกฝังสังคมแห่งการแบ่งปัน

3. จัดทำโดย นาย พัชกานต์ ดอกพิกุล 621931004

4. เกิดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจ

4.1. ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน

4.1.1. กล้าคิด

4.1.2. กล้าสงสัย

4.1.3. กล้าถาม

4.2. เป็นการเรียนเพื่อตอบโจทย์การดำเนินชีวิตอย่างแท้จริง

4.2.1. ผู้เรียนสามารถเลือกเส้นทางการทำงานในอนาคตได้อย่างแท้จริง

4.2.2. เรียนเพื่อใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้จริง

4.2.3. สามารถอยู่รอดและเป็นพลเมืองที่ดีได้ ในสภาพสังคมที่มีการแข่งขันสูง

4.3. ลดการเรียนในภาคบังคับ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือก ทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริงและมีประสิทธิภาพ

4.3.1. เลือกเรียนตามวิชาที่ตนเองถนัด

4.3.2. เลือกเรียนตามวิชาที่ตนเองสนใจ

4.3.3. เลือกเรียนในรายวิชาที่สามารถนำไปปรับใช้ในอนาคตได้

5. บ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์ ทำให้เกิดการเรียนรู้ไม่รู้จบ

5.1. เปิดการเรียนรู้ที่กว้างขึ้น ไม่เพียงแต่ศึกษาในห้องเรียน หรือในโรงเรียนเท่านั้น

5.1.1. ความรู้อยู่กระจัดกระจายทั่วทุกที่ ผู้ศึกษาสามารถศึกษาผ่านปรากฏการ์ต่างๆในสังคมได้

5.1.2. เห็นภาพการศึกษาได้ชัดเจนมากขึ้น จากการลงพื้นที่ศึกษานอกห้องเรียน

5.1.3. เป็นการศึกษาเชิงบูรณาการที่มีหน่วยงานอื่นๆเข้ามามีส่วนร่วม ไม่ใช่เพียงครูหรืออาจารย์เท่านั้นที่มีหน้าที่สอน

5.2. มุ่งการศึกษาที่ทำให้เกิดกระบวนการคิด

5.2.1. มองไปไกลกว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏ

5.2.2. หาคำตอบที่เกิดจากกระบวนการคิดที่มีระบบ

5.3. เกิดการคิดนอกกรอบ

5.3.1. ผลิตผู้ศึกษาที่กล้าคิด กล้าแสดงออก กล้าตั้งคำถาม

5.3.2. สร้างความท้าทายในการศึกษา รัฐให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่

5.4. ผู้สอนทำหน้าที่ชี้แนะมากกว่าถ่ายทอด

5.4.1. เป็นการชี้แนะเพื่อให้เกิดการพัฒนาต่อยอด

5.4.2. ไม่เป็นผู้ถ่ายถอดในรูปแบบเดิมที่มีผู้ส่งสาร กับผู้รับสารเท่าั้น แต่เป็นการโต้ตอบไปมาระหว่างกัน