ข้อมูลมีคุณค่า

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ข้อมูลมีคุณค่า by Mind Map: ข้อมูลมีคุณค่า

1. ยุคข้อมูลและสารสนเทศ

1.1. เป็นยุคสมัยในประวัติศาตร์มนุษย์ซึ่งมีลักษณะเปลี่ยนจากอุตสาหกรรมเดิมตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรมนำมาซึ่งการปรับให้เป็นอุตสาหกรรม มาเป็นเศรษฐกิจที่อิงเทคโนโลยีสารสนเทศ การเริ่มต้นของยุคสารสนเทศสัมพันธ์กับการปฏิวัติดิจิทัล บทนิยามของดิจิทัลหรือสารสนเทศยังเปลี่ยนแปลงตามเวลาเมื่อเทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ผู้ใช้ วิธีปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์และสิ่งประดิษฐ์อื่นเข้าสู่เขตการวิจัย การพัฒนาและการออกวางจำหน่ายตลาด

1.2. ระหว่างยุคสารสนเทศ มีปรากฏการณ์ที่อุตสาหกรรมดิจิทัลสร้างสังคมที่อาศัยความรู้แวดล้อมด้วยเศรษฐกิจโลกไฮเทคที่มีอิทธิพลต่อวิธีที่การผลิตและภาคบริการดำเนินการในวิธีที่มีประสิทธิภาพและสะดวก ในสังคมะาณิชย์ อุตสาหกรรมสารสนเทศสามารถทำให้ปัจเจกสำรวจความต้องการส่วนบุคคลได้ ฉะนั้นจึงทำให้กระบวนวิธีตัดสินใจสำหรับทำธุรกิจง่ายขึ้นและลดค่าใช้จ่ายสำหรับทั้งผู้ผลิตและผู้ซื้อ ผู้เข้าร่วมเศรษฐกิจนี้ยอมรับอย่างล้นหลามตลอดกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมดเพื่อความมุ่งหมายทางประสิทธิพลัง แล้วมีการส่งเสริมฌแพาะถิ่นซึ่งสิ่งสูงใจทางเศรษฐกิจใหม่ เช่น เศรษฐกิจความรู้

1.3. ยุคสารสนเทศเกิดจากการใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าการผลิตโดยลดขนาดคอมพิวเตอร์ (computer microminiaturization) วิวัฒนาการเทคโนโลยีชีวิตประจำวันและการจัดระเบียบสังคมนี้นำไปสู่ข้อเท็จจริงว่าการปรับให้สารสนเทศและกระบวนการสื่อสารทันสมัยกลายเป็นกำลังขับเคลื่อนวิวัฒนาการทางสังคม

2. วิทยาการข้อมูล

2.1. วิทยาการข้อมูล (Data Science) พูดแบบภาษาทั่วไป มันก็คือศาสตร์ประเภทหนึ่งที่ผนวกเอาความรู้ด้านเทคโนโลยีหลายอย่างเข้าไปศึกษาสิ่งที่เรียกว่า “ข้อมูล (Data)” ที่มีจำนวนมหาศาล ซึ่งข้อมูลดังกล่าวยังไม่ได้ถูกจัดเรียงและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ แต่กองเป็นพะเนินเทินทึก ดังนั้นก็เป็นหน้าที่ของศาสตร์ Data Science ที่จะเข้าไปจัดการกับข้อมูลเหล่านั้นเพื่อให้ได้ความรู้อย่างหนึ่งอย่างใดออกมา

2.1.1. สำหรับความรู้ที่ใช้ในการศึกษาด้าน Data Science ได้แก่

2.1.1.1. Data Mining

2.1.1.2. Machine Learning

2.1.1.3. Deep Learning

2.1.1.4. Artificial Intelligence (AI)

2.1.1.5. Big Data

2.1.1.6. Math & Statistics

3. กระบวนการวิทยาการข้อมูลกระบวนการวิทยาการข้อม

3.1. การเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์หรือบริการด้วยข้อมูลนั้น นอกจากจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หรือบริการแล้ว การดําเนินการตามกระบวนการของวิทยาการข้อมูลที่ระบุขั้นตอนสําคัญต่าง ๆ ที่ประกอบด้วย การตั้งคําถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล การสํารวจข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสื่อสารและการทํา ผลลัพธ์ให้เป็นภาพสู่ผู้ใช้กลุ่มเป้าหมาย

4. การคิดเชิงออกเเบบสำหรับวิทยาการข้อมูล

4.1. การคิดเชิงออกแบบ (อังกฤษ: design thinking) เป็นกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาแนวคิดใหม่ ๆ โดยมีจุดมุ่งหมายคือการหาแนวทางการแก้ปัญหาที่เน้นมุมมองของผู้ใช้ (user-centered) และมีเจตนาในการสร้างผลลัพธ์ในอนาคตที่เป็นรูปธรรม เพื่อให้ได้แนวทางหรือนวัตกรรมที่ตอบโจทย์กับผู้ใช้และสถานการณ์