ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย (1)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย (1) by Mind Map: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย (1)

1. ความหมายของการวิจัย

1.1. กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้ใหม่และเพื่อนำความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์

2. ขั้นตอนของการวิจัย

2.1. การเลือกและกำหนดปัญหา

2.2. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

2.4. การวิเคราะห์ข้อมูล

2.5. การสรุปผลการวิจัย

3. ประเภทของการวิจัย

3.1. การจำแนกตามประเภทตามจุดมุ่งหมายของการวิจัย

3.1.1. การวิจัยพื้นฐานในการวิจัยบริสุทธิ์

3.1.2. การวิจัยประยุกต์

3.2. การจำแนกประเภทตามระเบียบวิธีวิจัย

3.2.1. การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์

3.2.2. การวิจัยเชิงบรรยายหรือเชิงพรรณา

3.2.3. การวิจัยเชิงทดลอง

3.2.3.1. การวิจัยเชิงทดลองแท้

3.2.3.2. การวิจัยกึ่งทดลอง

3.3. การจำแนกประเภทตามลักษณะของข้อมูล

3.3.1. การวิจัยเชิงคุณภาพหรือการวิจัยเชิงคุณภาพ

3.3.2. การวิจัยเชิงปริมาณ

4. คุณสมบัติของนักวิจัย

4.1. 1 ด้านความรู้คือพุทธพิสัย

4.2. 2 ด้านความสามารถหรือทักษะพิสัย

4.3. 3 ด้านเจตคติหรือจิตพิสัย

5. จรรยาบรรณของนักวิจัย

5.1. ความซื่อสัตย์ความเป็นกลาง

5.2. มีความรับผิดชอบต่องาน

5.3. คำนึงถึงผลเสียต่อผู้อื่นโดยถือหลักมนุษยธรรม

5.4. เคารพในสิทธิส่วนบุคคล

5.5. ไม่เป็นเครื่องมือในการแสวงหาผลประโยชน์ของผู้อื่นและมีความรู้ความสามารถในการวิจัย

6. จุดมุ่งหมายของการวิจัย

6.1. ประการที่ 1

6.1.1. เพื่อให้ได้ความรู้ใหม่เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่

6.1.2. เพื่อตรวจสอบและพิสูจน์ทฤษฎีที่มีอยู่ว่ายังใช้ได้อยู่หรือไม่

6.1.3. เป็นการเพิ่มพูนความรู้ทางวิทยาศาสตร์

6.2. ประการที่ 2

6.2.1. เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในหลายด้าน

6.2.1.1. ใช้สำหรับพยากรณ์หรือทำนายเหตุการณ์

6.2.1.2. ใช้สำหรับบรรยายสภาพของปัญหา

6.2.1.3. ใช้สำหรับปรับปรุงและพัฒนาสภาพการ

6.2.1.4. ใช้สำหรับควบคุมปัญหา

7. พัฒนาการของวิธีการแสวงหาความรู้

7.1. การแสวงหาความรู้อย่างไม่มีระบบแบบแผน

7.1.1. การได้รับความรู้โดยการลองผิดลองถูก

7.1.2. การได้รับความรู้จากผู้รู้

7.1.3. การได้รับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญหรือนักปราชญ์

7.1.4. การได้รับความรู้จากประเพณีและวัฒนธรรม

7.1.5. การได้รับความรู้และประสบการณ์ของตนเอง

7.1.6. การได้รับความรู้โดยบังเอิญ

7.2. การแสวงหาความรู้ด้วยระบบเหตุผล

7.2.1. วิธีอนุมานหรือนิรนัย

7.2.2. วิธีอุปมานหรืออุปนัย

7.2.3. วิธีอนุมาน-อุปมาน

7.3. การแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์

7.3.1. ขั้นระบุปัญหาหรือกำหนดปัญหา

7.3.2. ขั้นตั้งสมมติฐาน

7.3.3. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล

7.3.4. การวิเคราะห์และตีความข้อมูล

7.3.5. ขั้นสรุปผล

8. ประโยชน์ของการวิจัย

8.1. 1 ประโยชน์ต่อสังคม

8.1.1. สังคมได้รับความรู้ใหม่ๆ

8.1.2. ช่วยให้สามารถนำความรู้นั้นไปใช้ในการบรรยายสภาพการ

8.1.2.1. ปรากฏการณ์

8.1.2.2. พยากรณ์แนวโน้ม

8.1.2.3. ควบคุมสถานการณ์ปัญหาแก้ปัญหา

8.1.2.4. พัฒนาและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ในสังคมให้ดียิ่งขึ้น

8.2. 2 ประโยชน์ต่อนักวิจัย

8.2.1. ได้รับความรู้ใหม่ที่กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น

8.2.2. ทำให้เป็นผู้รอบรู้

8.2.3. ทำให้มีคนลักษณะประจำตัวที่ดี

8.2.3.1. เป็นคนใฝ่หาความรู้อยู่เสมอ

8.2.3.2. มีเหตุผลและทำงานอย่างเป็นระบบ