หน่วยที่ 10 การประกันคุณภาพการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หน่วยที่ 10 การประกันคุณภาพการศึกษา by Mind Map: หน่วยที่ 10 การประกันคุณภาพการศึกษา

1. 1. หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา

1.1. 1.1 คุณภาพและการประกันคุณภาพ

1.1.1. คุณภาพ คือ การมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

1.1.2. การประกันคุณภาพ หมายถึง การวางแผนการปฏิบัติของหน่วยผลิตที่มุ่งผลิตที่มุ่งผลิตสิ่งที่มีคุณภาพให้ตรงกับผู้ใช้

1.2. 1.2 ระบบและการบริหารคุณภาพ

1.2.1. ระบบคุณภาพ

1.2.1.1. ระบบคุณภาพ หมายถึง ประกอบด้วยโครงสร้างขององค์กร หน้าที่ วิธีการดำเนิน

1.2.2. องค์ประกอบ

1.2.2.1. การวางแผนคุณภาพ

1.2.2.2. การควบคุมคุณภาพ

1.2.2.3. การปรับปรุงคุณภาพ

1.2.3. การบริหาร

1.2.3.1. กระบวนการกำหนดและบริหารกิจกรรมต่างๆ

1.2.4. หลักการ

1.2.4.1. 1. การให้ความสำคัญกับผู้บริหาร

1.2.4.2. 2. ภาวะผู้นำ

1.2.4.3. 3. การมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กร

1.2.4.4. 4.การเน้นกระบวนการ

1.2.4.5. 5.การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ

1.2.4.6. 6.การปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

1.2.4.7. 7.การตัดสินใจข้อเท็จจริง

1.2.4.8. 8.ความสัมพันธ์พึ่งพากัน

1.3. 1.3 การประกันคุณภาพการศึกษา

1.3.1. คุณภาพการศึกษา

1.3.1.1. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่เป็นเลิศทางด้านต่างๆ

1.3.2. การประกันคุณภาพการศึกษา

1.3.2.1. การปฏิบัติตามแบบแผนที่กำหนดไว้

1.3.3. ความสำคัญของการประกันคุณภาพ

1.3.3.1. 1. ป้องกันการศึกษาให้มีคุณภาพ

1.3.3.2. 2. ประชาชนได้รับข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

1.3.3.3. 3.ทำให้ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบริหารให้มีคุณภาพอย่างจริงใจ

1.4. 1.4 ความเป็นมาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

1.4.1. ความเป็นมา

1.4.1.1. เริ่มตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองในสหรัฐอเมริกาจากธุรกิจอุตสาหกรรม และผลิตภัณฑ์ทุกชิ้นต้องมีคุณภาพเพื่อให้ผู้ใช้เกินความเชื่อมั่น

1.4.2. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

1.4.2.1. 1.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

1.4.2.2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

1.4.2.3. หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพ

2. 2. ระบบประกันคุณภาพการศึกษา

2.1. 2.1 ระบบประกันคุณภาพการศึกษา

2.1.1. ภายใน คือ การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในการศึกษา

2.1.2. ภายนอก คือ การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายนอกการศึกษา

2.2. 2.2 การประเมินคุณภาพการศึกษาท

2.2.1. เป็นการวิเคราะห์หรือเปรียบเทียบการดำเนินงาน

2.2.1.1. ประเมินภายใน

2.2.1.2. ประเมินภายนอก

2.3. 2.3 มาตรฐานและตัวบ่งชี้การศึกษา

2.3.1. 1.มาตรฐานการศึกษา

2.3.1.1. เป็นการวางรากฐานคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับผู้เรียน

2.3.2. 2.ตัวบ่งชี้

2.3.2.1. เป็นตัวที่บ่งชี้ว่าการดำเนินเงินแต่มาตรฐานเป็นไปตามเกณฑ์หรือไม่

3. 3. การดำเนินการประดับคุณภาพการศึกษา

3.1. 1. ขั้นตอน

3.1.1. 1.กำหนดมาตรฐานการศึกษา

3.1.2. 2. จัดทำแผนพัฒนา

3.1.3. 3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ

3.1.4. 4. ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษา

3.1.5. 5. จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพ

3.1.6. 6.การประเมินคุณภาพภายในตามการศึกษา

3.1.7. 7.จัดทำรายงานประจำปีตามการประเมินภายใน

3.1.8. 8.พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

3.2. 2. บทบาทและหน้าที่

3.2.1. 1.บทบาทของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

3.2.2. 2.บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา

3.2.3. 3.บทบาทครูและบุคลากรการศึกษา

3.2.4. 4.บทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา

3.2.5. 5.บทบาทของพ่อแม่ผู้ปกครอง

3.2.6. 6.บทบาทของชุมชน

3.2.7. 7.บทบาทของสื่อมวลชน

3.2.8. 8.บทบาทของผู้เรียน

3.3. 3. ปัญหาและอุปสรรค

3.3.1. 1. ปัญหา

3.3.1.1. ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

3.3.2. 2.ปัจจัยและความสำเร็จ

3.3.2.1. แบ่งได้ 3 ประเด็น

3.3.2.1.1. 1.ปัจจันด้านคน

3.3.2.1.2. 2.ปัจจัยด้านระบบ

3.3.2.1.3. 3.ปัจจัยด้านการจัดการ

3.4. 4. การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ

3.4.1. แนวทางในการสร้าง

3.4.1.1. 1.กระประเมินวัฒนธรรมที่มีอยู่ในองค์กร

3.4.1.2. 2.การกำหนดรูปแบบของวัฒนธรรมในองค์กรใหม่

3.4.1.3. 3.การนำวัฒนธรรมใหม่มาใช้