ภาวะการมีบุตรยาก (infertility)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ภาวะการมีบุตรยาก (infertility) by Mind Map: ภาวะการมีบุตรยาก (infertility)

1. บทบาทพยาบาล

1.1. 1.ประเมินความรู้สึกและทราบถึงปัญหา

1.2. 2.เปิดโอกาสให้คู่สมรสได้เลือกช่วงที่จะทำการตรวจวินิจฉัย

1.3. 3.อธิบายให้เข้าใจถึงขั้นตอน วิธีการ ระยะเวลาค่าใช้จ่าย ภาวะแทรกซ้อน

1.4. 4.ให้กำลังใจ และสร้างความมั่นใจ

1.5. 5.ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัดและมาพบแพทย์ทุกครั้งที่มีการนัดหมาย

1.6. 6.ให้คู่สมรสได้ปรึกษาและพูดคุยกับแพทย์และพยาบาลจนสิ้นสุดการรักษา

1.7. 7.ควรแนะนำให้คู่สมรสทำจิตใจให้สบาย ไม่เคร่งเครียด หรือวิตกกังวลมากจนเกินไป

1.8. 8. แนะนำให้ดูแล และบำรุงร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ

1.9. 9. แนะนำให้สมาชิกทุกคนในครอบครัวและสามีเป็นกำลังใจให้

1.10. 10.อธิบายให้ทราบถึงความเจ็บป่วยที่อาจต้องเผชิญทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ

2. วิธีการช่วยเหลือ

2.1. ภายใน

2.1.1. การผสมเทียม

2.1.1.1. การฉีดน้ำอสุจิเข้าไปในช่องคลอดของฝ่ายหญิงโดยไม่ได้มีเพศสัมพันธ์

2.1.1.2. แบ่งเป็น

2.1.1.2.1. AIH

2.1.1.2.2. AID

2.1.1.3. วิธีการ

2.1.1.3.1. 1. ซักประวัติ

2.1.1.3.2. 2. หาวันที่มีไข่ตกเพื่อทำการฉีดน้ำอสุจิ

2.1.1.3.3. 3. ฉีดน้ำอสุจิ

2.1.1.4. ผชปกติ

2.1.1.5. ผญ วันตกไข่ปกติ

2.1.2. IUI

2.1.2.1. ข้อบ่งชี้

2.1.2.1.1. ฝ่ายหญิง

2.1.2.1.2. ฝ่ายชาย

2.1.2.2. วิธีการทำ

2.1.2.2.1. ฝ่ายชาย

2.1.2.2.2. ฝ่ายหญิง

2.1.2.3. รู้ผลการตั้งครรภ์ภายใน 12-14 วันหลังการทำ

2.1.2.4. โอกาสการตั้งครรภ์มีประมาณ 10-20 เปอร์เซ็นต์

2.1.3. GIFT

2.1.3.1. ข้อบ่งชี้

2.1.3.1.1. ฝ่ายชาย

2.1.3.1.2. ฝ่ายหญิง

2.1.3.2. ความสำเร็จในการตั้งครรภ์แต่ละครั้งประมาณร้อยละ 30-40

2.2. ภายนอก

2.2.1. ZIFT

2.2.1.1. เป็นการเก็บไข่และอสุจิ มาผสมกันให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกายก่อน แล้วจึงนำตัวอ่อนในระยะ zygote ใส่กลับเข้าไปในท่อนำไข่

2.2.1.2. ข้อบ่งชี้

2.2.1.2.1. ฝ่ายชาย

2.2.1.2.2. ฝ่ายหญิง

2.2.1.3. ความสำเร็จในการตั้งครรภ์แต่ละครั้งประมาณร้อยละ 20-30

2.2.2. IVF&ET

2.2.2.1. เป็นการเก็บไข่และอสุจิ มาผสมกันให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกายจนแบ่งเซลล์เป็นตัวอ่อน จนถึงระยะ 4-8 cells หรือเป็น blastocyst แล้วจึงใส่กลับเข้าสู่โพรงมดลูก

2.2.2.2. ข้อบ่งชี้

2.2.2.2.1. ฝ่ายชาย

2.2.2.2.2. ฝ่ายหญิง

2.2.2.3. ความสำเร็จในการตั้งครรภ์แต่ละครั้งประมาณร้อยละ 20-50

2.2.3. ICSI

2.2.3.1. ฉีดตัวอสุจิเข้าไปในเซลล์ของไข่โดยตรงเพื่อให้เกิดตัวอ่อนขึ้น จะทำการฉีดอสุจิ 1 ตัว เข้าไปในไข่ 1 ใบ จากนั้นจึงนำไข่ที่ฉีดอสุจิแล้วไปเลี้ยงในตู้อบ

2.2.3.2. ข้อบ่งชี้

2.2.3.2.1. ฝ่ายชาย

3. สำหรับสตรีที่อายุมากกว่า 30-35 ปี ถ้ามีเพศสัมพันธ์สม่ำเสมอไม่ได้คุมกำเนิดภายในเวลา 6 เดือน แต่ไม่ตั้งครรภ์ ถือว่าอยู่ในภาวะมีบุตรยาก

4. ความหมาย

4.1. การที่คู่สามีภรรยาไม่สามารถมีบุตรได้ภายหลังจากมีเพศสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอโดยไม่ได้คุมกำเนิดเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี

5. ชนิดของการมีบุตรยาก

5.1. ปฐมภูมิ

5.1.1. การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน

5.2. ทุติยภูมิ

5.2.1. การที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาแล้ว อาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้งหรือการคลอด หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลย เป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน

6. สาเหตุและปัจจัย

6.1. ชาย

6.1.1. การสร้างเชื้ออสุจิผิดปกติ

6.1.1.1. อสุจิน้อย

6.1.1.2. รูปร่างผิดปกติ

6.1.1.3. เคลื่อนไหวน้อย

6.1.1.4. อื่นๆ

6.1.1.4.1. ความร้อน

6.1.1.4.2. สารเคมี

6.1.1.4.3. ความเครียด

6.1.1.4.4. โรคประจำตัว

6.1.2. การขนส่งเชื้ออสุจิผิดปกติ

6.1.2.1. การอุดตันของท่อนำเชื้ออสุจิ

6.1.3. การมีเพศสัมพันธ์และการหลั่งน้ำเชื้อที่ผิดปกติ

6.1.3.1. ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์และช่วงเวลาที่ไม่ตรงกับระยะตกไข่

6.1.3.2. ไม่สามารถหลั่งน้ำอสุจิในช่องคลอดของฝ่ายหญิงได้ แต่สามารถหลั่งน้ำอสุจิได้จากการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง

6.2. หญิง

6.2.1. ความผิดปกติของการสร้างไข่หรือการตกไข่

6.2.1.1. อื่น

6.2.1.1.1. SEX ห่างเกินไป

6.2.1.1.2. ความเครียด

6.2.1.1.3. โรคประจำตัว

6.2.2. ความผิดปกติของอุ้งเชิงกรานและท่อนำไข่

6.2.3. ความผิดปกติที่ปากมดลูกและมดลูก

7. การค้นหาปัจจัยการมีบุตรยาก

7.1. ชาย

7.1.1. ซักประวัติ

7.1.1.1. PH.

7.1.1.1.1. คางทูม

7.1.1.1.2. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

7.1.1.2. การสูบบุหรี่

7.1.1.3. ดื่มแอลกอฮอลล์

7.1.1.4. SEX

7.1.2. ตรวจร่างกาย

7.1.2.1. ลักษะรูเปิดท่อปัสสาวะ

7.1.2.2. รูปร่างอัณฑะ

7.1.2.3. หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ

7.1.3. ผลทางห้องปฏิบัติการ

7.1.3.1. CBC

7.1.3.2. Hormone

7.1.3.3. *ตรวจน้ำอสุจิ

7.1.3.3.1. ค่าปกติ

7.2. หญิง

7.2.1. ซักประวัติ

7.2.1.1. ประวัติ ปจด.

7.2.1.2. ได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด

7.2.1.3. SEX

7.2.1.4. การคุมกำเนิด

7.2.2. ตรวจร่างกาย

7.2.2.1. ทั่วไป

7.2.2.1.1. โรคทางอายุรกรรม

7.2.2.2. ตรวจเฉพาะ

7.2.2.2.1. ช่องคลอด

7.2.2.2.2. มดลูก

7.2.2.2.3. รังไข่

7.2.2.2.4. เชิงกราน

7.2.2.2.5. เต้านม

7.2.3. ผลทางห้องปฏิบัติการ

7.2.3.1. CBC

7.2.3.2. Hormone

7.2.3.3. ภูมิต้านทานตัวอสุจิ

7.2.3.3.1. PCT