การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรู้แบบเรียนรวมที่สนองต่อความหลากหลายของผู้เรียน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรู้แบบเรียนรวมที่สนองต่อความหลากหลายของผู้เรียน by Mind Map: การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรู้แบบเรียนรวมที่สนองต่อความหลากหลายของผู้เรียน

1. เด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้ช้า

1.1. ลักษณะ

1.1.1. มีปัญหาการเรียนและเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ช้ากว่าวัยเดียวกัน

1.1.2. มีความสนใจใฝ่รู้ในระดับน้อย

1.1.3. ไม่ค่อยซักถามหรือหาคำตอบเอง

1.1.4. ใฝ่รู้ใฝ่เรียนระดับน้อย

1.1.5. แก้ปัญหาด้วยการลองผิดลองถูก

1.2. แนวทางการจัดการเรียนรู้

1.2.1. สอนจากสิ่งที่ง่ายที่สุดก่อน

1.2.1.1. เริ่มจากสิ่งที่ต่ำกว่าความสามารถเล็กน้อย

1.2.1.2. เพื่อให้มีกำลังใจ มั่นใจ

1.2.2. ให้เด็กมีความสุขในการเรียน

1.2.2.1. จะทำให้นักเรียนมองคนในแง่ดี

1.2.3. ให้การเสริมแรงสม่ำเสมอ

1.2.3.1. นักเรียนจะมีกำลังใจ และพัฒนามากขึ้น

1.2.4. ให้เด็กเรียนจากเพื่อน

1.2.4.1. เด็กกลุ่มนี้เรียนรู้ได้ดีเมื่อเรียนกับเพื่อน

1.2.5. จัดห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียน

1.2.5.1. ห้องเรียนควรมีความระเบียบ สวยงาม

1.2.5.2. มีเสียงรบกวนจากภายนอกน้อยที่สุด

1.2.6. มองหาจุดเด่นของเด็ก

1.2.6.1. ส่งเสริมให้เป็นคนเก่ง ในจุดที่มีศักยภาพ

1.2.7. สอนโดยการเน้นย้ำ ซ้ำทวน

1.2.7.1. ให้เด็กทำกิจกรรมนั้นซ้ำบ่อย ๆ

1.2.8. ใช้คำสั่งที่สั้นและเข้าใจง่าย

1.2.8.1. คำสั่งไม่ควรให้ทำหลาย ๆ กิจกรรม

1.2.8.2. ทวนคำสั่งก่อนลงปฏิบัติ

1.2.9. ให้เวลามากขึ้น

1.2.9.1. ให้เวลามากกว่าเด็กทั่วไปในการทำงาน

1.2.10. มอบงานให้เหมาะสม

1.2.10.1. ไม่ควรมอบงานครั้งละมาก ๆ แต่ให้มอบหมายบ่อยขึ้น

1.2.11. ให้เรียนรู้จากการปฏิบัติ

1.2.11.1. ให้ร่วมกิจกรรมมากกว่าฟังการสอนจากครู

2. เด็กออทิสติก

2.1. มีความผิดปกติรุนแรง 3 ด้าน

2.1.1. พัฒนาการด้านสังคม

2.1.1.1. ไม่มองสบตา

2.1.1.2. ไม่ชอบการโอบกอด

2.1.1.3. แยกตัวออกจากลุ่ม

2.1.1.4. มองผ่านหรือมองคนอื่นเหมือนไม่มีคนอยู่

2.1.1.5. ไม่ชอบเลียนแบบการเล่นของคนอื่น

2.1.1.6. ซนผิดปกติหรือนิ่งผิดปกติ

2.1.1.7. หัวเราะหรือร้องไห้ไม่หยุด

2.1.2. พัฒนาการด้านการสื่อความหมาย

2.1.2.1. ไม่สามารถพูดออกเสียงคำที่มีความหมาย

2.1.2.2. ต้องการสิ่งใดจะดึงมือคนอื่นไปทำ

2.1.2.3. พูดเลียนเสียงหรือทวนคำ

2.1.2.4. พูดซ้ำคำต่าง ๆ ที่เคยได้ยิน

2.1.2.5. ไม่สามารถเริ่มต้นการสนทนาได้

2.1.2.6. ไม่ตอบสนองเสียงเรียก

2.1.3. พฤติกรรมแปลก ๆ ซ้ำ ๆ

2.1.3.1. ชอบหมุนวัตถุ

2.1.3.2. สะบัดมือ

2.1.3.3. กระดิกนิ้วมือ

2.1.3.4. วิ่งถลาไปข้างหน้าอย่างเร็ว

2.1.3.5. นั่งโยกตัว

2.1.3.6. เดินเขย่งปลายเท้า

2.1.3.7. หมุนตัวหรือโยกตัวไปมา

2.1.3.8. จ้องมองวัตถุนาน ๆ

2.2. ลักษณะปัญหาในการเรียนรู้

2.2.1. มีการสนใจเป็นระยะที่สั้นมาก

2.2.2. ปัญหาในการสื่อความหมายและภาษาบุคคลออทิสติก

2.2.3. จำบุคคลได้โดยการดูเกี่ยวกับรายละเอียด

2.2.4. เล่นสมมุติไม่เป็น

2.2.5. ความเข้าใจและการแสดงความรู้สึกของเด็กออทิสติก

2.2.6. ความจำเป็นบุคคลออทิสติก

2.3. เทคนิคการสอนเด็กกลุ่มออทิสติก

2.3.1. ควบคุมพฤติกรรมที่ผิดปกติ

2.3.2. การวิเคราะห์งาน

2.3.3. การกระตุ้นให้เด็กทำตาม

2.3.4. การกระตุ้นทางกาย

2.3.5. การกระตุ้นทางวาจา

2.3.6. การเน้น

2.3.7. การเลียนแบบ

2.3.8. การจัดสภาพแวดล้อม

2.4. หลักสำคัญของครูสอนเด็กกลุ่มออทิสติก

2.4.1. มีความยืดหยุ่นสูง

2.4.2. คำนึงถึงวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นสำคัญ

2.4.3. มีเจตคติที่ดี

2.4.4. มีเมตตา คลุกคลีกับเด็กจนเด็กยอมรับ

2.5. หลักการสอนเด็กออทิสติก

2.5.1. สอนเป็นรายบุคคลตามระดับความสามารถของเด็ก

2.5.2. สอนจากง่ายไปยาก ใกล้ตัวไปไกลตัว

2.5.3. สอนโดยใช้หลัก 3R

2.5.4. สอนให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง

2.5.5. เวลาในการทำกิจกรรมไม่ควรเกิน 15-20 นาที

2.5.6. การเรียนรู้และการปรับพฤติกรรม

2.6. เทคนิคการปรับพฤติกรรม

2.6.1. การไม่สนใจ

2.6.2. การเบี้ยงเบนความสนใจ

2.6.3. การให้แรงเสริมทางบวก

2.6.4. การแยกให้เด็กอยู่ตามลำพัง

2.6.5. การลงโทษ การลงโทษโดยตัดรางวัล

2.6.6. การสร้างพฤติกรรมใหม่

2.6.6.1. ครูช่วยเหลือให้เด็กทำพฤติกรรมที่ต้องการแล้วลดการช่วยเหลือลง

2.6.6.2. ครูให้กำลังใจด้วยการให้รางวัล

2.6.6.3. ครูแสดงให้เด็กดูเป็นตัวอย่าง

3. เด็กที่มีความพิการซ้ำซ้อน

3.1. หมายถึง

3.1.1. บุคคลที่มีความบกพร่องตั้งแต่1อย่างขึ้นไปในบุคคลเดียวกัน

3.2. ลักษณะ

3.2.1. บกพร่องทางการมองเห็นร่วมกับบกพร่องอื่น ๆ

3.2.1.1. การได้ยิน

3.2.1.2. สติปัญญา

3.2.1.3. ร่างกาย

3.2.1.4. การเรียนรู้

3.2.1.5. สมาธิสั้น

3.2.2. บกพร่องทางร่างกายร่วมกับบกพร่องอื่น ๆ

3.2.2.1. สติปัญญา

3.2.2.2. การมองเห็น

3.2.2.3. การได้ยิน

3.2.2.4. ออทิสติก

3.2.2.5. สมาธิสั้น

3.2.3. บกพร่องทางสติปัญญาร่วมกับบกพร่องอื่น ๆ

3.2.3.1. สติปัญญา

3.2.3.2. การมองเห็น

3.2.3.3. ร่างกาย

3.2.3.4. การเรียนรู้

3.2.3.5. สมาธิสั้น

3.3. หลักสูตรการเรียนการสอน

3.3.1. เน้นด้านการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวัน

3.3.1.1. การแต่งตัว

3.3.1.2. การรับประทานอาหาร

3.3.2. เน้นด้านการสื่อสาร

3.3.2.1. การทักทาย

3.3.2.2. การบอกความต้องการกับผู้อื่น

3.3.3. แก้ไขพฤติกรรมไม่พึ่งประสงค์ และส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์

4. เด็กที่มีปัญญาเลิศ

4.1. ลักษณะ

4.1.1. มีพัฒนาทางร่างกาย และจิตใจเร็วกว่าเด็กปกติ

4.1.2. ช่างสังเกต อยากรู้อยากเห็น

4.1.3. จดจำสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องแม่นยำ

4.1.4. มีสมาธิดีเยียม

4.1.5. มีความคิดอ่านนอกระเบียบแบบแผน

4.1.6. มีความสนใจกว้างขวางและลึกซึ้ง

4.1.7. เรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว และง่าย

4.1.8. มีความสามารถในการแก้ปัญหา

4.2. การจัดการศึกษา

4.2.1. การสอนเร่ง

4.2.1.1. สอนหลักสูตรปกติในเวลาที่น้อยลง

4.2.2. การสอนเพิ่ม

4.2.2.1. สอนความรู้และประสบการ์ให้กว้างขวางลึกซึ้งมากขึ้น

4.2.3. เรียนรู้แบบรู้แจ้ง

4.2.3.1. ให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน

4.2.4. จัดหลักสูตรให้กระทัดรัด

4.2.4.1. เน้นให้เด็กได้เรียนในเนื้อหาวิชาที่สำคัญจริง ๆ

4.2.5. การคิดเชิงวิจารณ์

4.2.5.1. รู้จักสอนให้คิด รู้จักใช้เหตุผลก่อนตัดสินใจ

5. ความหมาย

5.1. การรับเด็กเข้ารับการศึกษาโดยไม่แบ่งแยกความบกพร่องของเด็ก หรือเด็กที่ด้อยกว่าเด็กส่วนใหญ่ในชั้นเรียน

5.2. ใช้การบริหารจัดการและวิธีการในการให้เด็กเกิดการเรียนรู้และพัฒนาการตามความต้องการ

6. รูปแบบของการจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวม

6.1. เรียนรวมในชั้นเรียนปกติ

6.1.1. เรียนในชั้นเรียนเต็มวัน

6.1.2. อยู่ในความรับผิดชอบของครูประจำชั้น

6.1.3. ไม่ได้รับบริการทางการศึกษาพิเศษ

6.1.4. ควรเป็นเด็กที่มีความพิการน้อย

6.1.5. มีความฉลาดและมีความพร้อมในการเรียน

6.1.6. มีวุฒิภาวะทางสังคมและอารมณ์

6.2. เรียนรวมในชั้นเรียนปกติและมีครูพิเศษให้คำแนะนำปรึกษา

6.2.1. เรียนในชั้นเรียนปกติ เต็มเวลา

6.2.2. อยู่ในความดูแลของครูประจำชั้น

6.2.3. จะได้รับคำแนำจากครูการศึกษาพิเศษ

6.3. เรียนรวมในชั้นเรียนปกติและรับบริการจากครูเวียนสอน

6.3.1. เรียนในชั้นเรียนปกติเต็มเวลา

6.3.2. อยู่ในความรับผิดชอบของครูประจำชั้น

6.3.3. ได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนจากครูเวียนสอนตามตารางที่กำหนดหรือเมื่อมีความจำเป็น

6.3.4. ครูเวียนสอนในบริการช่วยเหลือแก่ครูทั้งด้านการสอนและการปรบพฤติกรรม

6.4. เรียนรวมในชั้นเรียนปกติและรับบริการจากครูเสริมวิชาการ

6.4.1. เรียนในชั้นเรียนปกติ เต็มวัน

6.4.2. อยู่ในความรับผิดชอบของครูประจำชั้น

6.4.3. ได้รับการสอนเสริมจากครูการศึกษาพิเศษ

6.4.4. อาจทำเป็นรายบุคคลหรือสอนกลุ่มเล็ก ๆ

6.4.5. สอนในเนื้อหาที่เด็กไม่ได้รับการสอนในชั้นปกติหรือเนื้อหาที่เด็กมีปัญหา

6.5. การจัดชั้นพิเศษในโรงเรียนปกติ

6.5.1. เข้าเรียนในชั้นเรียนพิเศษ คือ

6.5.1.1. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

6.5.1.2. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

6.5.1.3. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาตร์

6.5.1.4. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

6.5.1.5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

6.5.2. เข้าเรียนร่วมในชั้นเรียนปกติ คือ

6.5.2.1. กลุ่มสาระการเรียนรฝุ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

6.5.2.2. กลุ่มสาระการเียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

6.5.2.3. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

6.6. ชั้นพิเศษในโรงเรียนปกติ

6.6.1. จัดเด็กพิเศษที่มีความบกพร่องประเภทเดียวกันไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน

6.6.2. เรียนในชั้นเรียนพิเศษเต็มเวลา

6.6.3. เรียนกับครูประจำชั้นทุกวิชา

6.6.4. เข้าร่วมกิจกรรมกับเด็กทั่วไป เช่น

6.6.4.1. เข้าแถวเคารพธงชาติ

6.6.4.2. การรับประทานอาหาร

6.6.4.3. การไปทัศนศึกษา

6.6.4.4. เหมาะสำหรับเด็กที่มีความพิการค่อนข้างมาก

7. ความสำคัญของการจัดกาเรียนรู้แบบเรียนรวม

7.1. เป็นการจัดให้ด็กที่มีความต้องการพิเศษเรียนรวมกับเด็กทั่วไปโดยเป็นการเสนอให้นักศึกษาคำนึงถึงคุณค่าของการพัฒนาชีวิตคน

7.2. เป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้แก่กลุ่มเด็กที่มีความต้องการพิเศษได้รับการศึกษาเพิ่มขึ้น

7.3. เป็นการประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อที่ดินก่อสร้างอาคารเรียน

8. องค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวม

8.1. องค์ประกอบด้านสรีรวิทยา

8.1.1. การทำงานผิดปกติของระบบการทำงานของร่างกาย

8.1.2. เกี่ยวข้องกับปัญหาทางร่างกายของเด็ก

8.2. องค์ประกอบด้านจิตวิทยา

8.2.1. สติปัญญา

8.2.2. อัตราเร็วของการเรียนรู้

8.2.3. การปรับตัวทางอารมณ์และสังคม

8.2.4. ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวและเพื่อน

8.3. องค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อม

8.3.1. ประสบการณ์ต่าง ๆ

9. ประเภทและลักษณะของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

9.1. บกพร่องทางการมองเห็น

9.1.1. หมายถึง

9.1.1.1. เด็กที่สูญเสียระดับการมองเห็นตั้งแต่เล็กน้อยจนตาบอดสนิท แบ่งได้2 ประเภท

9.1.1.1.1. เด็กตาบอด

9.1.1.1.2. เด็กสายตาเลือนลาง

9.1.2. ผลกระทบต่อการเรียน

9.1.2.1. ส่งผลต่อการเรียนอย่างเด่นชัด

9.1.2.2. ช่วงการปรับตัวทำให้ขาดโอกาสในการเรียนรู้

9.1.2.3. เรียนไม่ทันคนอื่น

9.1.3. การสังเกตพฤติกรรม

9.1.3.1. ขยี้ตาบ่อย ๆ เหมือนพยายามทำให้ภาพที่ไม่ชัดให้ปรากฏชัดขึ้น

9.1.3.2. เวลามองวัตถุมักป้องตา

9.1.3.3. ถือหนังสือไว้ใกล้ตามาก หรือก้มหน้าใกล้หนังสือ

9.1.3.4. กระพริบตาถี่มากกว่าปกติ

9.1.3.5. มีความยุ่งยากในการอ่านหนังสือ

9.1.3.6. ตำมักช้ำแดงและมีน้ำตา

9.1.4. การจัดการศึกษา

9.1.4.1. สามารถสื่อสารโดยใช้การพูดออกเสียงเหมือนเด็กปกติทั่วไป

9.1.4.2. การพูดบอก อธิบายถึงรายละเอียดสิ่งต่าง ๆ มีความสำคัญ

9.1.4.3. ตาบกพร่องในระดับมองเห็นเลือนลาง

9.1.4.3.1. อ่านหนังสือได้แต่ตัวหนังสือต้องใหญ่กว่าเด็กตาปกติ

9.1.4.4. ตาบกพร่องในระดับตาบอดมองไม่เห็น

9.1.4.4.1. การอ่านหนังสือค่อนข้างยาก

9.1.4.4.2. ตัวอักษรที่ใช้ในการอ่านและเขียนเรียก อักษรเบรล์

9.2. บกพร่องทางการได้ยิน

9.2.1. หมายถึง

9.2.1.1. บุคคลที่สูญเสียการได้ยินตั้งแต่ระดับน้อยไปถึงระดับรุนแรงจนไม่สามารถฟังเสียงได้เหมือนคนปกติ

9.2.2. แบ่งได้2 ประเภท

9.2.2.1. คนหูหนวก

9.2.2.1.1. สูญเสียการได้ยินมากจนไม่สามารถรับข้อมูลผ่านการได้ยิน

9.2.2.1.2. ไม่ได้ยินแม้จะใช้เครื่องช่วยฟัง

9.2.2.1.3. อาจรับรู้เสียงบางเสียงได้ จากการสั่นสะเทือน

9.2.2.2. คนหูตึง

9.2.2.2.1. บุคคลที่มีการได้ยินเหลืออยู่บ้าง

9.2.3. ผลกระทบต่อการเรียน

9.2.3.1. ความสามารถในการเรียนรู้ภาษาและการพูดลดน้อยลง

9.2.4. การช่วยเหลือเด็กบกพร่องทางการได้ยินในชั้นเรียนปกติ

9.2.4.1. จัดให้เด็กนั่งในบริเวณที่จะรับฟังการสอนของครูได้ชัดเจน

9.2.4.2. พยายามลดการรบกวนทางเสียง

9.2.4.3. ต้องแน่ใจว่าเด็กมองเห็นหน้า

9.2.4.4. พยายยามหาทางให้เด็กพูดบ่อย ๆ

9.2.4.5. พยายามเรียกให้เด็กตอบคำถาม หรือพูด เพื่อทดสอบความเข้าใจ

9.2.4.6. ต้องให้กำลังใจในการถามคำถาม

9.2.4.7. ใช้สื่ออุปกรณ์ในการสอนให้มาก

9.3. บกพร่องทางด้านสติปัญญา

9.3.1. หมายถึง

9.3.1.1. เด็กที่มีสติปัญญาต่ำกว่าเด็กทั่วไปเมื่อวัดระดับสติปัญญาจากแบบทดสอบมาตรฐาน

9.3.2. ลักษณะ

9.3.2.1. พัฒนาการด้านต่าง ๆ ล่าช้าหรือไม่เป็นไปตามวัย

9.3.2.1.1. ด้านการเคลื่อนไหว

9.3.2.1.2. ด้านภาษา

9.3.2.1.3. ด้านความคิดรวบยอด

9.3.2.1.4. ด้านอารมณ์ และสังคม

9.3.3. การจัดการศึกษา

9.3.3.1. ระดับก่อนวัยเรียน

9.3.3.1.1. เน้นความพร้อมของเด็ก

9.3.3.1.2. เน้นทักษะที่จำเป็นที่ช่วยให้มีความพร้อมในการเรียน

9.3.3.2. ระดับประถมศึกษา

9.3.3.2.1. เน้นการอ่าน คณิตศาตร์ ภาษา

9.3.3.2.2. เอกสารการเรียนให้สอดคล้องกับความสนใจและความสามารถ

9.3.3.3. ระดับมัธยมศึกษา

9.3.3.3.1. เน้นความต้องการและความสามารถของเด็กเป็นสำคัญ

9.4. บกพร่องทางด้านภาษาและการพูด

9.4.1. หมายถึง

9.4.1.1. บุคคลที่มีความบกพร่องในเรื่องการออกเสียงพูด

9.4.2. ลักษณะ

9.4.2.1. เสียงผิดปกติ

9.4.2.2. อัตราเร็วและจังหวะการพูดผิดปกติ

9.4.2.3. บกพร่องในเรื่องการเข้าใจ

9.4.2.4. บกพร่องในการใช้ภาษาพูด และเขียน

9.4.3. การจัดการศึกษา

9.4.3.1. การฝึกฟัง

9.4.3.1.1. เป็นการฝึกหูให้คุ้นเคยกับสิ่งต่าง ๆ

9.4.3.1.2. การได้ยินที่ดี นำไปสู่การพูดที่ดี

9.4.3.2. การบริหารลิ้น

9.4.3.2.1. ฝึกอ่านเสียงพยัญชนะ

9.4.3.3. การเล่นเกมส์

9.4.3.3.1. เล่นเกมที่ต้องใช้ในการพูด

9.4.3.3.2. เด็กมีโอกาสพูดมากขึ้น

9.4.3.4. บกพร่องทางการติดอ่าง

9.4.3.4.1. พยายามให้พูดแม้ติดอ่างก็ตาม

9.4.3.4.2. ควรให้เด็กร่วมกิจกรรมตามปกติ

9.4.3.5. บกพร่องเสียงพูดผิดปกติ

9.4.3.5.1. ฝึกเด็กผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการหายใจให้ถูกต้อง

9.4.3.5.2. ควรใช้เครื่องดนตรีเข้าช่วย

9.4.3.6. บกพร่องด้านการพูดช้า

9.4.3.6.1. การฟัง ให้เด็กฟังให้มาก

9.4.3.6.2. จัดประสบการณ์ให้เด็กมีโอกาสพูด

9.4.3.6.3. ใช้รูปภาพหรือสื่อการสอนประกอบ ให้เด็กเข้าใจความหมาย

9.4.3.6.4. ให้เด็กเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับความรู้สึกหรือประสบการณ์ที่พบเจอ

9.5. เด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์

9.5.1. ลักษณะ

9.5.1.1. ไม่สามารถเรียนหนังสือได้เช่นเดียวกับเด็กปกติทั่วไป

9.5.1.2. ไม่สามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนได้

9.5.1.3. มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับเพศและวัย

9.5.1.4. มีปัญหาทางอารมณ์

9.5.2. การจัดการศึกษา

9.5.2.1. กำหนดกฎเกณฑ์ ในห้องเรียนให้เป็นระบบชัดเจน

9.5.2.2. ระเบียบของห้องเรียน ควรกระทำตอนต้นภาคเรียนและชี้แจงให้นักเรียนทุกคนเข้าใจตรงกันและปฏิบัติตาม

9.5.2.3. ครูคอยตรวจสอบว่านักเรียนปฏิบัติตามกฎ ระเบียบหรือไม่และให้แรงเสริมทางบวก เมื่อนักเรียนปฏิบัติตามกฎ

9.5.2.4. ถ้านักเรียนทำแบบฝึกหัดหรือทำการบ้านไม่ได้ ครูอาจเลือกใช้วิธีอื่น

9.5.2.5. ถ้านักเรียนทะเลาะวิวาทหรือชกต่อยกัน ครูจะต้องจับเด็กแยกออกจากกันทันที