บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศและธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศและธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ by Mind Map: บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศและธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

1. เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนํามาใช้ ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจําหน่ายมาก

2. เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (Database Administrator)

3. เป็นซอฟต์แวร์สําหรับช่วยงานปลีกย่อยต่างๆ ให้ผู้ใช้ เช่น ช่วยใน การก็อปปี้แฟ้ม ข้อมูลจากแผ่นดิสก์ไปเก็บไว้ในเทปแม่เหล็ก การ ตรวจค้นหาแฟ้มข้อมูลที่ได้ลบชื่อแฟ้มไปแล้ว การจัดระเบียบ แฟ้มข้อมูลบนแผ่นดิสก์ ฯลฯ ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ควรมีไว้ใช้งาน เพราะจะทําให้การทํางานสะดวกขึ้น ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ที่ ได์รับความนิยม ได้แก่ PC Tools และ Norton’s Utilities

4. ซอฟต์แวร์ระบบ (system software)

4.1. ระบบปฏิบัติการหรือที่เรียกย่อๆ ว่าโอเอส (Operating System : OS)

4.1.1. เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบ คอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมี ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กัน มากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่นดอส (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอเอสทู (OS/2) ยูนิกซ (UNIX) และ MacOSเป็นต้น

4.2. ตัวแปลภาษา

4.2.1. ตัวแปลภาษา Translation Program คือ โปรแกรมที่ทําหน้าที่ในการแปลโปรแกรม หรือชุดคําสั่งที่เขียนด้วยภาษาที่ไม่ใช่ ภาษาเครื่อง หรือภาษาเครื่องที่ไม่เข้าใจให้เป็น ภาษาที่เครื่องสามารถรู้เรื่องเข้าใจ และนําไปปฏิบัติได้เช่น ภาษา BASIC, COBOL, C, PASCAL, FORTRAN, ASSEMBLY เป็นต้น

5. 2.ซอร์ฟแวร์ (Software)

5.1. ซอร์ฟแวร์อรรถประโยชน์หรือซอฟต์แวร์ช่วยงาน (Utilities)

5.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)

5.2.1. ซอฟต์แวร์สําเร็จ (package)

5.2.2. ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ

5.2.2.1. ในบรรดาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่มีใช้กัน ทั่วไป ซอฟต์แวร์สําเร็จ (package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความนิยมใช้กัน สูงมาก ซอฟต์แวร์สําเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้น แล้วนํา ออกมาจําหน่าย

5.2.2.2. การประยุกต์ใช้งานด้วยซอฟต์แวร์สําเร็จ มักจะเน้นการใช้งานทั่วไปแต่อาจจะนํามาประยุกต์โดยตรงกับงาน ทางธุรกิจบางอย่างไม่ได้ เช่นในกิจการธนาคาร

6. 3.บุคลากรทางคอมพิวเตอร

6.1. บุคลากร

6.1.1. User

6.1.2. Data Entry Operator

6.1.3. Programmer

6.1.4. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน (System Analyst)

6.1.5. ผู้ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ (System Designer)

6.1.6. วิศวกรระบบ (Software Engineer)

6.1.7. เจ้าหน้าที่ดูและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Administrator)

6.1.8. ผู้ดูแลเว็บไซต์ (Web Administrator)

6.1.9. นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Sciences)

7. 5. กระบวนการทํางาน (Procedure)

7.1. กระบวนการ ทํางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ในการทํางานกับคอมพิวเตอร์ผู้ใช้จําเป็นต้อง ทราบขั้นตอนการทํางานเพื่อให้ได้งานที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

8. 7. ธุรกรรมอิเลคทรอนิกส์

8.1. •ประโยชน์ของธุรกรรมอิเลคทรอนิกส

8.2. เพิ่มความสะดวกสบายและความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า

8.3. เพิ่มความรวดเร็วและถูกต้องในการดําเนินงานธุรกิจ

8.4. เพิ่มความรวดเร็วและถูกต้องในการทํางานขององค์กร

8.5. นําอิเล็กทรอนิกส์มาจัดการกับธุรกิจทําให้การทํางานของคนในองค์กรมีความถูกต้องในการ จัดการเอกสารมากยิ่งขึ้น

8.6. ทําให้เกิดรูปแบบธุรกิจทั้งสินค้าและบริการใหม่ๆ

8.7. ลดต้นทุนในการดําเนินธุรกิจ

8.8. เพิ่มช่องทางในการขยายตลาด

8.9. ช่วยให้เกิดข้อมูล และสารมารถนําข้อมูลมาใช้ได้ในอนาคต

9. หน่วยประมวลผลกลาง ( Central Processor Unit ) หรือ CPU

9.1. หน่วยความจําหลัก (Main Memory)

9.1.1. • หน่วยความจําชั่วคราว (RAM : Random Access Memory)

9.1.2. หน่วยความจําถาวร (ROM: Read Only Memory) และ

9.1.3. หน่วยความจําที่ใช้เก็บข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง (CMOS: complementary metal-oxide semiconductor)

9.2. หน่วยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)

9.3. หน่วยควบคุม (Control Unit)

10. 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

10.1. หน่วยรับข้อมูล (input devices)

10.1.1. อุปกรณ์ชี้ตําแหน่ง (Pointing Device)เช่น เมาส์ (Mouse)

10.1.2. อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device) เช่น แป้นพิมพ์ (Keyboard)

10.1.3. อุปกรณ์รับข้อมูลแบบหน้าจอสัมผัส (Touch-Sensitive Screen)

10.1.4. ระบบปากกา (Pen-Based System)

10.1.5. อุปกรณ์กวาดข้อมูล (Data Scanning Device)

10.1.6. อุปกรณ์รู้จําเสียง (Voice Recognition Device)

10.1.7. 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

10.2. หน่วยความจําหลัก(Main Memory)

10.3. หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output devices )

10.3.1. หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy)

10.3.1.1. จอภาพ (Monitor)

10.3.1.2. จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display)

10.3.1.3. จอซีอาร์ที (Cathode Ray Tube)

10.3.1.4. จอภาพแบบ LED

10.3.1.5. จอภาพแบบ OLED

10.3.2. หน่วยแสดงผลข้อมูลถาวร (Hard Copy)

10.3.2.1. เครื่องพิมพ์ชนิดตอก (Impact printer)

10.3.2.2. เครื่องพิมพ์ชนิดไม่ตอก (Non impact printer)

10.3.2.2.1. เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer)

10.3.2.2.2. เครื่องพิมพ์ฉีดหมึก (Inkjet Printer)

10.3.2.2.3. เครื่องพิมพ์เทอร์มอล (Thermal printer)

10.3.2.3. เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) 15Asst

10.4. หน่วยเก็บข้อมูลสํารอง (Secondary storage)

10.4.1. จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk)

10.4.2. เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape)

10.4.3. Online storage หรือ Cloud Storage

10.4.4. จานแสง (Optical Disk)

10.4.5. Flash memory

10.5. อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล (Communication devices)

10.5.1. อุปกรณ์รวมสัญญาณ

10.5.1.1. มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Muliplexer)

10.5.1.2. คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator)

10.5.1.3. ฮับ (Hub)

10.5.1.4. ฟรอนต์เอนต์โรเซสเซอร์ (Front-End Processor)

10.5.2. สวิตซ์ (Switch) หรือที่นิยมเรียกว่าอีเธอร์เนตสวิตซ์ (Ethernet Switch)จะเป็นบริดจ์แบบหลายช่องทาง (multiport bridge)

10.5.3. อุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่าย

10.5.3.1. บริดจ์ (Bridge) ใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments)เข้าด้วยกัน

10.5.3.2. เครื่องทวนซ้ําสัญญาณ (Repeater)

10.5.3.3. เราท์เตอร์ (Router)

10.5.3.4. เกทเวย์ (Gateway)

10.5.4. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล

10.5.4.1. สื่อกลางประเภทมีสาย (Wired)

10.5.4.1.1. สายทองแดงแบบหุ้มฉนวน (Shield Twisted Pair)

10.5.4.1.2. สายทองแดงแบบไม่หุ้มฉนวน (UnshieldTwisted Pair)

10.5.4.1.3. สายโคแอคเชียล (Coaxial)

10.5.4.1.4. สายใยแก้วนําแสง(Fiber optic)

10.5.4.1.5. ระบบไมโครเวฟ(Microwave System)

10.5.4.2. สื่อกลางประเภทไม่มีสาย (wire less)

10.5.4.2.1. คลื่นวิทยุ (Radio Wave)

10.5.4.2.2. แสงอินฟราเรด (Infrared)

11. 4. ข้อมูลและสารสนเทศ

11.1. ข้อมูล (Data)

11.1.1. ข้อเท็จจริงหรือสาระต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติอาจเป็น ตัวเลขหรือข้อความที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆข้อมูล เหล่านี้ ยังไม่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจได้ทันทีจะนําไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อ ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว

11.2. สารสนเทศ (information)

11.2.1. เป็นผลลัพธ์ของการประมวลผล การจัดดําเนินการ และการเข้าประเภทข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้น สารสนเทศ มีความหมายหรือแนวคิดที่กว้าง และหลากหลาย

11.3. โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)

11.3.1. บิต (Bit)เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนําไปใช้งานได้ ได้แก่เลข 0 และ เลข 1

11.3.2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character)ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว

11.3.3. ฟิลด์ (Flied)คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจําตัว ชื่อสกุล เป็นต้น

11.3.4. เรคคอร์ด (Record)คือ การนําเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ

11.3.5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies)คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรค คอร์ดรวมกันและเป็นเรื่องเดียวกัน

11.3.6. ฐานข้อมูล (Database)คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมา รวมกัน องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 44Asst

12. 6. การเชื่อมต่อและการสื่อสาร

12.1. การเชื่อมต่อ (Connectivity

12.1.1. หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับ คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ หรือเรียกว่าเครือข่าย คอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก(Computer Network)

12.2. 6.1 ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร

12.2.1. PAN (Personal area network) เป็นเครือข่ายไร้สายส่วนบุคคล

12.2.2. LAN (Local Area Network) ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่น

12.2.3. MAN (Metropolitan Area Network) ระบบเครือข่ายเมือง

12.2.4. WAN (Wide Area Network) ระบบเครือข่ายกว้างไกล

12.2.5. Internetคือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุดของโลก

12.2.6. Intranet คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร

12.3. 6.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร

12.3.1. องค์ประกอบของระบบเครือข่าย

12.3.1.1. คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (File Server)

12.3.1.2. ช่องทางการสื่อสาร (Communication Chanel)

12.3.1.3. สถานีงาน (Workstation or Terminal)

12.3.1.4. อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System)

12.3.1.5. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่ายซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการเครือข่าย