1. หลักการห้ามเลือด
1.1. ชนิดของแผล
1.1.1. แผลเปิด
1.1.1.1. มีการฉีกขาด เลือดไหลออกนอกร่างกาย
1.1.2. แผลปิด
1.1.2.1. มีการฉีกขาด เลือดไหล แต่ไม่ออกนอกร่างกาย
1.2. หลักการประเมินภาวะเลือดออก
1.2.1. เลือดซึม ไหลช้า
1.2.1.1. หลอดเลือดฝอย ได้รับอันตราย
1.2.2. เลือดสีแดงช้ำ ไหลช้า ไม่พุ่งแรง
1.2.2.1. หลอดเลือดดำ ได้รับอันตราย
1.2.3. เลือดสีแดงสด
1.2.3.1. เส้นเลือกใหญ่ ได้รับอันตราย
1.3. หลักการห้ามเลือด
1.3.1. กดบนบาดแผล ใช้ผ้าสะอาดวางบนแผล 10 นาที
1.3.2. ยกส่วนที่มีบาดแผลให้สูงกว่าหัวใจ
1.3.3. ปิดทับบาดแผลให้แน่น
1.3.4. กดบนหลอดเลือดแดงใหญ่
1.3.5. ใช้สายรัด ทูนิเกต์ เป็นวิธีสุดท้ายเพราะอาจทำให้ cell ตาย
2. การปฐมพยาบาลบาดแผล
2.1. แผลปิด
2.1.1. อาจเกิดจากแรงกระแทก เกิดการฉีกขาดของเนื้อเยื่อและเส้นเลือดฝอย ใต้ผิวหนัง ทำให้เลือดคลั่ง เรียกว่า แผลช้ำ
2.2. แผลเปิด
2.2.1. แผลถลอก
2.2.1.1. แผลตื้น เลือดออกนิดหน่อย
2.2.2. แผลฉีกขาด
2.2.2.1. ขอบแผลขาดรุ่งริ่ง
2.2.3. แผลตัด
2.2.3.1. ปากแผล แคบ เรียบ
2.2.4. แผลถูกแทง
2.2.4.1. โดนของมีคมแทง
2.2.5. แผลถูกยิง
2.2.5.1. เกิดจากกระสุนปืน
2.3. แผลช้ำ
2.3.1. 24 ชม.แรก ให้ประคบเย็น เพื่อไม่ให้เลือดออก ระงับอาการปวด
2.3.2. หลัง 24 ชม. ประคบร้อนบริเวณรอยช้ำ
2.4. แผลถลอก
2.4.1. ล้างแผลใช้ผ้าสะอาดซับ
2.4.2. ใช้ยาโพวีดีนทาฆ่าเชื้อ
2.5. แผลฉีกขาด
2.5.1. ฉีกขาดไม่มาก แผลติดกันเองได้
2.5.2. แผลรุ่งริ่งมาก ควรนำส่งโรงพยาบาล
2.6. อวัยวะขาด
2.6.1. ต้องห้ามเลือดก่อน
2.6.2. นำอวัยวะที่ขาดใส่ถุงพลาสติก รัดปากถุงให้แน่น
2.6.3. แช่ในน้ำที่มีน้ำเเข็ง ไม่แช่ใส่น้ำแข็งโดยตรง
2.6.4. นิ้วขาดเลือดได้ 24 ชม.
2.6.5. แขน ขา ขาดเลือดได้ 6-8 ชม.
3. แผลไฟไหม้
3.1. ชั้นผิวหนัง
3.1.1. แห้ง แดง พองเป็นตุ่มน้ำใส
3.2. ใต้ผิวหนัง
3.2.1. เทา ดำ มีกลิ่นไหม้
3.3. การปฐมพยาบาล
3.3.1. ใช้ผ้าชุบน้ำคลุมตัวผู้บาดเจ็บ
3.3.2. ใช้น้ำเย็นราดหรือว่านหางจระเข้ทา
3.3.3. รีบถอดเสื้อผ้าเครื่องประดับออกก่อนแผลบม
3.3.4. ถ้าผู้บาดเจ็บหยุดหายใจต้องผายปอด หรือนวดหัวใจ
3.3.5. ถ้าเกิดแผลบริเวณหน้า ให้ล้างให้สะอาดใช้ผ้าปิดตาป้องกันฝุ่น นำส่งโรงพยาบาล
4. การปฐมพยาบาลโดนงูกัด
4.1. บีบเลือดออกเท่าที่ทำได้
4.2. ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดหรือน้ำด่งทับทิม
4.3. ส่งโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด ขยับให้น้อยสุด นำซากงูไปด้วย
4.4. สิ่งที่ไม่ควรทำ
4.4.1. ห้ามใช้เหล้า ยาสีฟันฟอก
4.4.2. ไม่ควรกรีดแผล ไม่ใช้ปากดูดเลือดออกจากแผล
4.4.3. ห้ามขันชะเนาะ จะทำให้เนื้อเยื่อตาย
5. การปฐมพยาบาลคนจมน้ำ
5.1. การช่วย
5.1.1. ดึงเข้าหาฝั่งโดยกอดไขว้หน้าอก
5.1.2. ดึงเข้าหาฝั่งโดยจับคาง
5.1.3. ดึงเข้าหาฝั่งโดยการจับผม
6. การปฐมพยาบาล (First aid)
6.1. ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ณ ที่เกิดเหตุโดยกะทันหันให้พ้นขีดอันตราย
6.2. ใช้อุปกรณ์เท่าที่หาได้ก่อนนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล เพื่อให้รอชีวิต ไม่ให้พิการ บรรเทาอาการการเจ็บปวดให้กลับสู่สภาพเดิม
7. การปฎิบัติการในภาวะฉุกเฉิน
7.1. ประเมินสถานการ
7.1.1. ต้องดูว่าเกิดอะไรขึ้น
7.1.2. มีอันตรายต่อเราหรือผู้ป่วยไหม
7.2. ทำให้เกิดความปลอดภัย
7.2.1. ป้องกันผู้ป่วย ไม่ให้มีการบาดเจ็บเพิ่มขึ้นอีก
7.3. ขอความช่วยเหลือ
8. กระดูกหัก
8.1. แบบปิด
8.1.1. แตกหัก ไม่มีแผล ไม่มีรอยทะลุออกมา
8.1.2. แตกหัก ไม่มีแผล ไม่มีรอยทะลุออกมา
8.2. แบบเปิด
8.2.1. แตกหักร่วมกับมีบาดแผล ปลายกระดูกโผล่ออกมา
8.3. การปฐมพยาบาล
8.3.1. ดามกระดูกชั่วคราว ทำได้โดยใช้ กิ่งไม้ พลาสติกแข็ง ไม้บรรทัด กิ่งไม้ ท่อนไม้ ฯลฯ
8.3.2. ทำเป็นเฝือก วางแนบกับส่วนที่หัก โดยให้ปลายทั้งสองข้างครอบคลุมถึงข้อที่อยู่เหนือและใต้
8.3.3. ส่วนที่หักควรมีสิ่งนุ่มๆรองรับผิวหนัง ของอวัยวะส่วนนั้นอยู่เสมอ
8.3.4. แล้วรัดทั้งหมดเข้าด้วยกัน โดยใช้เทป เชือก ด้าย สายไฟ ฯลฯ
8.3.5. รัดให้แน่นพอควร แต่อย่ารัดแน่นจนเกินไป
9. การพยาบาลคนถูกไฟฟ้าดูด
9.1. ปลดสวิตช์ ใช้ไม้แยกคนออกจากไฟฟ้า
9.2. ดูว่าหมดสติหรือยัง
9.3. หยุดหายใจต้องเป่าปาก หัวใจหยุดเต้นทำ CPR
10. การปฐมพยาบาลคนเลือดกำเดาไหล
10.1. ก้มหน้าใช้นิ้วบีบจมูกหรือใช้สำลีอุด
11. การปฐมพยาบาลคนเป็นลมหมดสติ ช็อก
11.1. เป็นลมธรรมดา
11.1.1. อ่อนเพลีย วิงเวียน หน้าซีด ชีพจรเบา ตัวเย็น
11.2. ลมแดด
11.2.1. ปวดหัว วิงเวียน หน้าแดง ร้อนจัด ไม่มีเหงื่อ หมดความรู้สึกชั่ววูบ
11.3. กรณีไม่หมดสติ
11.3.1. จัดให้นอนราบในที่ ที่มีอากาศถ่ายเท ห้ามคนมุง
11.3.2. ให้นอนตัวต่ำยกขาสูง ในรายที่เป็นลมแดดให้นอนหัวสูงกว่าลำตัวเล็กน้อย
11.3.3. มีเหงื่อให้เช็ด ลมแดดให้เอาน้ำเย็นเช็ดเพื่อช่วยลดอุณหภูมิ
11.3.4. คลายสิ่งที่รัดตัวออกให้หลวมสบาย
11.3.5. ให้ดื่มน้ำเย็นในรายที่เสียเหงื่อมากๆ
11.4. กรณีหมดสติ
11.4.1. ทำเหมือนในกรณีที่ไม่หมดสติ
11.4.2. ดูว่าหายใจหรือไม่ คลำชีพจร สังเกตุอาการนำส่งโรงพยาบาล
11.5. Shock
11.5.1. สาเหตุ
11.5.1.1. เสียเลือด เสียน้ำมาก
11.5.1.1.1. ตกเลือดจากการทำแท้ง ท้องเสีย อาเจียน
11.5.1.2. ขาดออกซิเจน
11.5.1.2.1. ทางเดินหายใจอุดกั้น หายใจลำบากจากกระดูกซี่โครงหัก กล้ามเนื้อหัวใจล้มเหลว
11.5.1.3. แบคทีเรีย เชื้อโรค
11.5.1.3.1. พบหลังจากเชื้อเข้าร่างกาน 2-3 วัน
11.5.1.4. อาการกลัว ตื่นเต้น แพ้ยา
11.5.2. การปฐมพยาบาล
11.5.2.1. จัดให้นอนราบ ไม่หนุนหมอน
11.5.2.2. หยุดหายใจหรือหายใจไม่สะดวกให้เปิดทางเดินหายใจ
11.5.2.3. หัวใจหยุดเต้นให้กระตุ้นหัวใจภายนอก
11.5.2.4. ถ้ามีแผลต้องห้ามเลือด
11.5.2.5. ให้บริเวณที่มีแผล เคลื่อนที่น้อยที่สุด
11.5.2.6. รักษาตามอาการ ส่งโรงพยาบาล