การเลือกตลาดเป้าหมายและการวางตำแหน่งทางการตลาด (STP) และ ส่วนประสมทางการตลาด (Marketing mix : 4P's)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การเลือกตลาดเป้าหมายและการวางตำแหน่งทางการตลาด (STP) และ ส่วนประสมทางการตลาด (Marketing mix : 4P's) by Mind Map: การเลือกตลาดเป้าหมายและการวางตำแหน่งทางการตลาด (STP) และ  ส่วนประสมทางการตลาด (Marketing mix : 4P's)

1. ความหมายของตลาด การตลาด และส่วนประสมทางการตลาด

1.1. ตลาด

1.1.1. ความหมายแบบแคบ สถานที่ที่ผู้ซื้อและผู้ขายมาพบกัน เพื่อตกลงแลกเปลี่ยนหรือซื้อขายสินค้าหรือบริการระหว่างกัน และ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของในสินค้าหรือบริการนั้นๆ ด้วย

1.1.2. ความหมายแบบกว้าง กลุ่มบุคคลหรือองค์กรที่มีความจำเป็นและความต้องการ ในผลิตภัณฑ์ มีความเต็มใจ มีความสามารถในการแลกเปลี่ยน และมีอำนาจในการตัดสินใจซื้อ เพื่อให้ได้รับความพอใจของตน

1.2. การตลาด

1.2.1. มีองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้ • จะต้องประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ จากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค • จะต้องเป็นการตอบสนองต่อความจำเป็นและความต้องการของมนุษย์หรือผู้บริโภค • จะต้องมีการแลกเปลี่ยน

2. กลยุทธ์การตลาด

2.1. STP marketing

2.1.1. S: Market Segmentation การแบ่งส่วนตลาด เป็นการแบ่งตลาด สำหรับผลิตภัณฑ์ชนิดใดชนิดหนึ่งออกเป็นตลาดย่อยๆ ที่แตกต่างกันทางด้านความมชอบ ความต้องการ และพฤติกรรม ผู้บริโภคในแต่ละตลาดย่อยๆ นั้น โดยอาศัยคุณสมบัติของผู้บริโภคหรือตลาดเป็นปัจจัยในการแบ่ง เพื่อจะได้วางแผนและใช้ความพยายามทางการตลาดได้ เหมาะสมกับแต่ละส่วนตลาด

2.1.1.1. ระดับของการแบ่งส่วนการตลาด

2.1.1.1.1. 1. การตลาดมวลชน

2.1.1.1.2. 2. การตลาดโดยมุ่งที่ส่วนของตลาด

2.1.1.1.3. 3. การตลาดโดยมุ่งที่ตลาดกลุ่มเล็ก

2.1.1.1.4. 4. การตลาดท้องถิ่น

2.1.1.1.5. 5. การตลาดมุ่งเฉพาะบุคคล

2.1.1.1.6. 6. การตลาดที่ลูกค้าต้องรับผิดชอบตัวเอง

2.1.1.2. รูปแบบของการแบ่งส่วนตลาด

2.1.1.2.1. ความชอบเหมือนกัน

2.1.1.2.2. ความชอบกระจัดกระจาย

2.1.1.2.3. ความชอบเป็นกลุ่มหลายกลุ่ม

2.1.1.3. หลักเกณฑ์ในการแบ่งส่วนตลาดผู้บริโภค

2.1.1.3.1. 1) การแบ่งส่วนตลาดทางภูมิศาสตร

2.1.1.3.2. 2) การแบ่งส่วนตลาดตามประชากรศาสตร

2.1.1.4. 3) การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยา

2.1.1.4.1. 4) การแบ่งส่วนตลาดตามพฤติกรรม

2.1.2. ประโยชน์ของการแบ่งส่วนตลาด 1. ทําให้ทราบถึงความต้องการและขอบเขตความพอใจของแต่ละส่วนตลาด 2. ทําให้ทราบถึงโอกาสทางการตลาด หรือตําแหน่งผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับตลาดเป้าหมาย 3. ใช้เป็นเกณฑ์ในการเลือกตลาดเป้าหมายที่เหมาะสมกับความสามารถของบริษัท 4. ทําให้สามารถปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้ตอบสนองความพอใจของผู้บริโภคให้ดีขึ้น 5. ทําให้สามารถปรับปรุงแผนการตลาด และงบประมาณการตลาดได้เหมาะสม

2.1.3. T: Market Targeting การกำหนดตลาดเป้าหมาย เป็นกิจกรรมใน การประเมินผลและการเลือกส่วนตลาดที่บริษัทเห็นว่าเหมาะสมกับทรัพยากรและความชำนาญ ของบริษัท

2.1.3.1. วิธีการกำหนดตําแหน่งผลิตภัณฑ

2.1.3.1.1. 1. กำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามราคา

2.1.3.1.2. 2. การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามกลุ่มเป้าหมาย

2.1.3.1.3. 3. การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์จากแหล่งกำเนิด

2.1.3.1.4. 4. การกำหนดตำแหน่งตามส่วนผสม

2.1.3.1.5. 5. การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน

2.1.3.1.6. 6. การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามผลประโยชน์และคุณค่า

2.1.3.1.7. 7. การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามรูปทรง

2.1.3.1.8. 8. การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามคู่แข่งขัน

2.1.3.1.9. 9. การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามระดับชั้นของผลิตภัณฑ์

2.1.3.2. การกําหนดกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด

2.1.3.2.1. กลยุทธ์ 4P’s (Product Price Place Promotion)

2.1.3.2.2. กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด

2.1.4. P: Positioning การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ในตลาด ในเชิงเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขัน โดยใช้ กลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดเป็นเครื่องมือในกระบวนการสร้างตำแหน่งผลิตภัณฑ์

2.1.4.1. 1. การประเมินส่วนตลาด

2.1.4.1.1. 1.1 ขนาดและความเจริญเติบโต

2.1.4.1.2. 1.2 ความสามารถในการจูงใจโครงสร้างส่วนตลาด

2.1.4.1.3. 1.3 วัตถุประสงค์และทรัพยากรของธุรกิจ

2.1.4.2. 2. การเลือกตลาดเป้าหมาย

2.1.4.2.1. 2.1 การตลาดที่ไม่แตกต่างหรือการตลาดที่เหมือนกัน

2.1.4.2.2. 2.2 การตลาดที่ต่างกันหรือการตลาดมุ่งต่างส่วน

2.1.4.2.3. 2.3 การตลาดแบบรวมกำลัง หรือการตลาดมุ่งเฉพาะส่วน